ข้อสรุปของ ข้อสรุปการตรวจราชการของศึกษาธิการจังหวัด บันทึกเมื่อวันที่ Date: 06 สิงหาคม 2564

หัวข้อการตรวจกรณีพิเศษ : การจัดการเรียนการสอนในสถานะการ Covid-19

สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดอุทัยธานีกำหนดรูปแบบการบริหารจัดการแบบบูรณาการเชิงพื้นที่ในการติดตามประเมินผลการจัดการเรียนการสอนและการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดระลอกใหม่ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID 19) ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๔ (เดือนมิถุนายน – เดือนกรกฎาคม ๒๕๖๔) ดังนี้

  1. จัดทำประกาศจัดตั้งศูนย์อำนวยการและประสานงานการเฝ้าระวังและการป้องกันการแพร่

    ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID -19) สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดอุทัยธานี ประกอบด้วยข้าราชการจากหน่วยงานทางการศึกษา และผู้อำนวยการกลุ่มต่าง ๆ ภายในสำนักงานร่วมเป็นคณะทำงาน ซึ่งมีหน้าที่ดำเนินการตามมาตรการควบคุมและป้องกันการแพร่ระบาดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID 19) กระทรวงศึกษาธิการ และข้อสั่งการศูนย์บริหารสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ จังหวัดอุทัยธานี มีหน้าที่ในการอำนวยการ และประสานงานกับหน่วยงานทางการศึกษา และสถานศึกษา ในสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ และสังกัดอื่นๆ เฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID 19) ภายในขอบเขตและอำนาจหน้าที่ตามกฎหมาย   รวมทั้งกำกับดูแล ควบคุม และติดตามการปฏิบัติงานของหน่วยงานทางการศึกษา และสถานศึกษา สังกัดกระทรวงศึกษาธิการ และสังกัดอื่นๆ ในการเฝ้าระวังและป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID 19) บูรณาการข้อมูล และบริหารจัดการข้อมูลที่ได้รับรายงานจากหน่วยงานทางการศึกษา ในความรับผิดชอบของกระทรวงศึกษาธิการ และสังกัดอื่นๆ และปฏิบัติหน้าที่อื่นใดตามที่รัฐมนตรีว่าการกระทรวงศึกษาธิการหรือปลัดกระทรวงศึกษาธิการ หรือคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัดอุทัยธานี มอบหมาย

    ๒.  แต่งตั้งคณะกรรมการติดตามประเมินผลการจัดการเรียนการสอนและการดำเนินการตาม

    มาตรการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดระลอกใหม่ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID 19) (COVID 19) ของกระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงสาธารณสุข ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๔

    ๓.  ในด้านการจัดการเรียนการสอนมีการดำเนินงานการกำกับ ติดตามประเมินผลการจัดการ

    เรียนการสอนและการดำเนินการตามมาตรการป้องกันในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๔  โดยมีการสรุปผลทุก ๒ สัปดาห์  (เดือนมิถุนายน ๒๕๖๔ – กรกฎาคม ๒๕๖๔ ) 

    ๔.   ในระดับสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดอุทัยธานี ให้บุคลากรตรวจสอบเฝ้าระวัง คนเข้า

    ออก และปฏิบัติตามมาตรการอย่างเคร่งครัด (มีจุดคัดกรอง บัญชีลงทะเบียนคนเข้า-ออก และตรวจวัดอุณหภูมิร่างกาย) และทำความสะอาดหน่วยงานทุกสัปดาห์

    ๖. ประชาสัมพันธ์สร้างความเข้าใจ ให้กับหน่วยงานการศึกษาในสังกัดให้ปฏิบัติตามประกาศ

    ของกระทรวงสาธารณสุข และประกาศคณะกรรมการควบคุมโรคติดต่อจังหวัดอุทัยธานีอย่างเคร่งครัด

     

    การดำเนินงานกำกับ ติดตามประเมินผลการจัดการเรียนการสอนและการดำเนินการตามมาตรการป้องกันในสถานการณ์การแพร่ระบาดระลอกใหม่ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID-19) ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๔ ของสำนักงานศึกษาธิการจังหวัดอุทัยธานี ตามนโยบายของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ

    การกำกับ ติดตามประเมินผลการจัดการเรียนการสอนและการดำเนินการตามมาตรการ

    ป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดระลอกใหม่ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID 19) เป็นไปตามนโยบายของสำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการขอความร่วมมือให้สำนักงานศึกษาธิการจังหวัดดำเนินการ ดังนี้

  1. ลงพื้นที่ตรวจ ติดตามประเมินผลการจัดการเรียนการสอนและการดำเนินการตาม

มาตรการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดระลอกใหม่ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID 19)

ภาคเรียนที่ ๑/๒๕๖๔ ระดับจังหวัด โดยกำหนดการติดตาม ระหว่างวันที่ ๑๔ - ๑๘ มิถุนายน ๒๕๖๔ ของสถานศึกษาในสังกัดจังหวัดอุทัยธานี รวม ๒๗ แห่ง ได้แก่

 

ตารางที่ ๓ แสดงโรงเรียนได้รับการลงพื้นที่ตรวจ ติดตามประเมินผลการจัดการเรียนการสอนและการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและควบคุมการแพร่ระบาดระลอกใหม่ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (COVID 19) โดยสำนักงานศึกษาธิการจังหวัด

ที่

โรงเรียน

อำเภอ

อนุบาลเมืองอุทัยธานี

เมืองอุทัยธานี

อุทัยวิทยาคม

เมืองอุทัยธานี

อนุศิษย์วิทยา ๓

เมืองอุทัยธานี

อนุศิษย์วิทยา ๔

เมืองอุทัยธานี

พิทักษ์ศิษย์วิทยา

เมืองอุทัยธานี

พระสุธรรมยานเถระวิทยา

เมืองอุทัยธานี

อนุบาลรจนา

ทัพทัน

ชุมชนบ้านทุ่งนา

หนองฉาง

วัดทัพหมัน

บ้านไร่

๑๐

บ้านห้วยเปล้า

ลานสัก

๑๑

บ้านหนองมะสัง

ห้วยคต

๑๒

อนุบาลลานสัก

ลานสัก

๑๓

บ้านวังเตย

ทัพทัน

๑๔

บ้านทุ่งมน

สว่างอารมณ์

๑๕

บ้านดงยางใต้

เมืองอุทัย

๑๖

บ้านหนองระแหงเหนือ

หนองขาหย่าง

๑๗

ตลุกดู่วิทยาคม

ทัพทัน

ที่

โรงเรียน

อำเภอ

๑๘

บ่อยางวิทยา

สว่างอารมณ์

๑๙

ทุ่งนาวิทยา

หนองฉาง

๒๑

กาญจนาภิเษกวิทยาลัย

หนองขาหย่าง

๒๒

การุ้งวิทยาคม

บ้านไร่

๒๓

ร่องตาทีวิทยา

ลานสัก

๒๔

สมอทองประทีปพลีผลอุปถัมภ์

ห้วยคต

๒๕

อุทัยธรรมานุวัตรวิทยา

หนองฉาง

๒๖

อนุบาลสีฟ้า และสีฟ้าพัฒนวิทย์

บ้านไร่

๒๗

อนุบาลรัศมี

บ้านไร่

รวม      ๒๗     โรงเรียน

รายงานผล

การติดตามประเมินผลการจัดการเรียนการสอนและการดำเนินการตามมาตรการป้องกันและควบคุม

การแพร่ระบาดระลอกใหม่ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)

ภาคเรียนที่ 1/2564 ระยะที่ 1 (เดือนมิถุนายน – กรกฎาคม 2564)

ระหว่างวันที่ ๑ มิถุนายน – ๒๘ มิถุนายน ๒๕๖๔

----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

 หน่วยงานศึกษาธิการจังหวัดอุทัยธานี

๑. สถานการณ์การแพร่ระบาดในพื้นที่

          สถานการณ์ในจังหวัดอุทัยธานี (วันที่ 13 มีนาคม 2563 – 28 มิถุนายน 2564) ข้อมูลจากสาธารณสุขจังหวัดอุทัยธานี ณ วันที่ ๒๘ มิถุนายน ๒๕๖๔

๑.๑  การดำเนินงานเฝ้าระวังและคัดกรองตามนิยามการเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019

ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวนโรค COVID-19 (PUI) สะสมจำนวน 474 ราย  (รายใหม่ 6 ราย)

ผู้สัมผัสเสี่ยงสูง (High Risk)  สะสมจำนวน 1,302 ราย (รายใหม่ 9 ราย)

เก็บตัวอย่างส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการรวม 1,776 ราย ผลการตรวจทางห้องปฏิบัติการ

ไม่พบเชื้อ COVID-19     จำนวน  1,705 ราย

ยืนยันติดเชื้อ COVID-19 จำนวน  56 ราย

รอผลการตรวจฯ           จำนวน  15 ราย

.2 ผลการดำเนินงานเฝ้าระวังและคัดกรองตามนิยามเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จังหวัดอุทัยธานี พบผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จำนวนสะสมรวม 56 ราย จำแนกเป็น

ผู้ติดเชื้อระลอกแรก (23 มีนาคม 2563)                      จำนวน  1 ราย

ผู้ติดเชื้อระลอกใหม่ เมษายน 2564                            จำนวน 55 ราย (รายใหม่ 1 ราย)

ผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 รักษาตัวอยู่ในโรงพยาบาล       จำนวน 10 ราย

ผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 รักษาหายรวมสะสม              จำนวน 44 ราย

ผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เสียชีวิต                           จำนวน  2  ราย

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ตารางที่ ๔ แสดงจำนวนผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวนโรค COVID-19  จำแนกรายอำเภอ (ข้อมูลวันที่ 13 มีนาคม 2563 –28 มิถุนายน 2564)

 

 

 

 

อำเภอ

ผู้ป่วยเข้าเกณฑ์สอบสวนโรค COVID-19 (PUI : Patient Under Investigation)

 

รายใหม่

(ราย)

 

รวมสะสม

(ราย)

ส่งตรวจทาง ห้องปฏิบัติการ (ราย)

ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ (ราย)

สถานะ PUI (ราย)

พบเชื้อ

COVID-19

ไม่พบเชื้อ

COVID-19

 

รอผล

รักษาตัว ใน รพ.

 

เสียชีวิต

เฝ้าระวัง ตนเองที่บ้าน

ครบกำหนด เฝ้าระวัง

 

รวม

1. เมืองอุทัยธานี

0

92

92

3

89

0

4

0

1

87

92

2. ทัพทัน

0

72

72

7

65

0

1

2

0

69

72

3. สว่างอารมณ์

0

33

33

2

31

0

2

0

0

31

33

4. หนองฉาง

0

73

73

2

71

0

0

0

3

70

73

5.หนองขาหย่าง

2

24

24

0

22

2

0

0

5

19

24

6. บ้านไร่

1

48

48

2

45

1

1

0

3

44

48

7. ลานสัก

0

67

67

6

61

0

1

0

1

65

67

8. ห้วยคต

3

48

48

0

45

3

2

0

2

44

48

ต่างจังหวัด

0

17

17

0

17

0

0

0

0

17

17

รวม

6

474

474

22

446

6

11

2

15

446

474

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

ตารางที่ ๕ แสดงจำนวนผู้สัมผัสเสี่ยงสูง (High Risk) กับผู้ติดเชื้อโคโรนาไวรัส (COVID-19) จำแนกรายอำเภอ

จังหวัดอุทัยธานี (ข้อมูลวันที่ 15 ธันวาคม 2563 – 28 มิถุนายน 2564)

 

 

อำเภอ

ผู้สัมผัสเสี่ยงสูง (High risk) กับผู้ติดเชื้อ COVID-19 (15 ..63 - 28 มิ..64)

 

รายใหม่

(ราย)

 

รวมสะสม

(ราย)

ส่งตรวจทาง ห้องปฏิบัติ การ (ราย)

ผลตรวจทางห้องปฏิบัติการ(ราย)

สถานะ High risk (ราย)

พบเชื้อ

COVID-19

ไม่พบเชื้อ

COVID-19

 

รอผล

รักษาตัว ใน รพ.

เฝ้าระวัง ตนเองที่บ้าน

ครบกำหนดเฝ้าระวัง

 

รวม

1. เมืองอุทัยธานี

3

215

215

4

208

3

0

31

184

215

2. ทัพทัน

1

314

314

11

302

1

0

11

303

314

3. สว่างอารมณ์

0

157

157

1

156

0

0

19

138

157

4. หนองฉาง

1

183

183

10

172

1

3

15

165

183

5. หนองขาหย่าง

0

47

47

1

46

0

0

4

43

47

6. บ้านไร่

0

181

181

2

179

0

0

78

103

181

7. ลานสัก

0

138

138

2

136

0

0

6

132

138

8. หว้ ยคต

0

38

38

3

35

0

2

20

16

38

ต่างจังหวัด

4

29

29

0

25

4

0

9

20

29

รวม

9

1,302

1,302

34

1,259

9

5

193

1,104

1,302

๑.๓ ผลการให้บริการฉีดวัคซีนโควิด 19 จังหวัดอุทัยธานี ข้อมูลระหว่างวันที่ 6 เมษายน – 28 มิถุนายน 2564 จากข้อมูลการให้บริการฉีดวัคซีนโควิด 19 ในระบบฐานข้อมูล MOPH Immunization Center พบว่า จังหวัด อุทัยธานี มีผู้ได้รับวัคซีนโควิด 19 สะสมทั้งหมด 21,544 โด๊ส จำแนกเป็นผู้ได้รับวัคซีนเข็มที่ 1 สะสมจำนวน 16,052 ราย และผู้ได้รับวัคซีนเข็มที่ 2 (ครบตามเกณฑ์) สะสมจำนวน 5,492 ราย

 

ตารางที่ ๖ แสดงจำนวนผลการให้บริการฉีดวัคซีนโควิด 19 จำแนกรายโรงพยาบาล จังหวัดอุทัยธานี (ข้อมูลระหว่าง 6 เม.. –28 มิ.. 64)

 

ลำดับที่

 

โรงพยาบาล

จำนวนการได้รับวัคซีน

เข็ม 1 (ราย)

เข็ม 2 (ราย)

รวม (โด๊ส)

รายใหม่

สะสม

รายใหม่

สะสม

รายใหม่

สะสม

1

รพ.อุทัยธานี

74

5,857

5

1,914

79

7,771

2

รพ.ทัพทัน

0

1,808

0

584

0

2,392

3

รพ.สว่างอารมณ์

3

935

209

522

212

1,457

4

รพ.หนองฉาง

91

2,349

0

757

91

3,106

5

รพ.หนองขาหย่าง

63

964

0

262

63

1,226

6

รพ.บ้านไร่

0

2,036

0

647

0

2,683

7

รพ.ลานสัก

0

1,254

0

466

0

1,720

8

รพ.หว้ยคต

67

738

0

291

67

1,029

9

รพ.พริ้นซ์ อุทัยธานี

0

111

0

49

0

160

จังหวัดอุทัยธานี

298

16,052

214

5,492

512

21,544

ที่มา : MOPH Immunization Center วันที่ 28 มิถุนายน 2564 เวลา 16.00 .

๑.๔ การเฝ้าระวัง คัดกรองผู้ที่เดินทางมาจากพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวดตามประกาศจังหวัดอุทัยธานี ( 6 จังหวัด) ตั้งแต่วันที่ 1 พฤษภาคม – 28 มิถุนายน 2564 มีผู้เดินทางจากจังหวัดพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวดตาม ประกาศจังหวัดอุทัยธานี 6 จังหวัด เข้ามาในจังหวัดอุทัยธานี จำนวนรวมทั้งสิ้น 1,634 ราย (รายใหม่ 84 ราย) ย้ายออก ไปต่างจังหวัด จำนวน 13 ราย ครบกำหนดเฝ้าระวัง 14 วัน จำนวน 1,418 ราย คงเหลือผู้ที่ยังคงเฝ้าระวังและกักกันตนเองในจังหวัดอุทัยธานี จำนวน 203 ราย

ตารางที่ ๗ แสดงข้อมูลจำนวนผู้เดินทางเข้ามาในจังหวัดอุทัยธานี ระหว่างวันที่ 1 พฤษภาคม – 28 มิถุนายน 2564

 

 

อำเภอ

ผู้เดินทางมาจากจังหวัดพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด (6 จังหวัด)

จำนวนผู้เดินทางมาจากจังหวัดพื้นที่เฝ้าระวัง(ราย)

 

สถานะผู้เดินทางมาจากจังหวัดพื้นที่เฝ้าระวัง (ราย)

 

รายใหม่

 

สะสม

 

รวมทั้งหมด

ครบกำหนดเฝ้าระวัง

ย้ายออก

คงเหลือเฝ้าระวัง

 

รวม

1. เมืองอุทัยธานี

4

34

38

34

0

4

38

2. ทัพทัน

13

370

383

325

9

49

383

3. สว่างอารมณ์

0

125

125

117

4

4

125

4. หนองฉาง

6

200

206

172

0

34

206

5. หนองขาหย่าง

0

39

39

36

0

3

39

6. บ้านไร่

8

280

288

246

0

42

288

7. ลานสัก

53

393

446

379

0

67

446

8. ห้วยคต

0

109

109

109

0

0

109

รวม

84

1,550

1,634

1,418

13

203

1,634

2. สถานการณ์ความรุนแรงของการแพร่ระบาดระลอกใหม่ของโรคโควิด 19 ในสถานศึกษา

   การจัดกลุ่มสถานศึกษาตามเขตพื้นที่สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19

 

 

 

 

สังกัด

 

 

สถานศึกษา

ทั้งหมด (แห่ง)

การจัดกลุ่มสถานศึกษาตามพื้นที่

สถานการณ์เพื่อการบังคับใช้มาตรการควบคุม

จำนวนสถานศึกษา (แห่ง)

กลุ่มพื้นที่เฝ้าระวัง

กลุ่มพื้นที่เฝ้าระวังสูง

กลุ่มพื้นที่ควบคุม

 

กลุ่มพื้นที่ควบคุมสูงสุด

กลุ่มพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)

๒๒๒

๒๒๒

-

-

-

-

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.)

-

-

-

-

สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.)

๑๐

๑๐

-

-

-

-

สำนักงาน กศน. (กศน.)

-

-

-

-

กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน

-

-

-

-

-

-

กรุงเทพมหานคร

-

-

-

-

-

-

สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

-

-

-

-

-

-

กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

๑๕๕

๑๕๕

-

-

-

-

อื่นๆ

-

-

-

-

-

-

รวม

๓๙๙

๓๙๙

-

-

-

-

 

 

 

 

 

 

 

 

3. กำหนดการเปิดภาคเรียน ที่ 1/2564 ของสถานศึกษา

 

 

 

สังกัด

 

สถานศึกษา

ทั้งหมด (แห่ง)

จำนวนสถานศึกษา  (แห่ง)

วันเปิดภาคเรียน

 1 มิ.ย. 64

หลัง 1 มิ.ย. 64
ก่อน 14มิ.ย. 64

14  มิ.ย. 64

หลัง          14 มิ.ย.64

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.)

๒๒๒

-

-

๒๒๒

-

สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.)

1

-

-

สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.)

๑๐

-

-

สำนักงาน กศน. (กศน.)

-

-

กองบัญชาการตำรวจตระเวนชายแดน

-

-

-

-

-

กรุงเทพมหานคร

-

-

-

-

-

สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

-

-

-

-

-

กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

๑๕๕

-

-

๑๕๕

-

อื่นๆ

-

-

-

-

-

รวม

๓๙๙

 

-

-

-

 

๔. การปฏิบัติตามมาตรการ 6 มาตรการหลัก (DMHT-RC) และ 6 มาตรการเสริม (SSET-CQ)

ข้อ

มาตรการของสถานศึกษา

ระดับการปฏิบัติ

6 มาตรการหลัก (DMHT-RC)

1

เว้นระยะห่าง (Distancing) ระหว่างบุคคล อย่างน้อย 1 – 2 เมตร

มีการปฏิบัติระดับมากที่สุด

2

สวมหน้ากาก (Mask wearing) ครู นักเรียน บุคลากร และผู้เข้ามาในสถานศึกษา สวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย 100% ตลอดเวลาที่อยู่ในสถานศึกษา

มีการปฏิบัติระดับมากที่สุด

3

ล้างมือ (Hand washing) ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่และน้ำนาน 20 วินาที หรือใช้เจลแอลกอฮอล์

มีการปฏิบัติระดับมากที่สุด

4

คัดกรองวัดไข้ (Testing) วัดไข้ สังเกตอาการ ซักประวัติผู้สัมผัสเสี่ยง ทุกคนก่อนเข้าสถานศึกษา

มีการปฏิบัติระดับมากที่สุด

5

ลดการแออัด (Reducing) ลดแออัด ลดเข้าไปในพื้นที่เสี่ยงกลุ่มคนจำนวนมากหรือพื้นที่เสี่ยงที่มีการแพร่ระบาดของโรค

มีการปฏิบัติระดับมากที่สุด

6

ทำความสะอาด (Cleaning) ทำความสะอาดบริเวณพื้นผิวสัมผัสร่วม อาทิ ที่จับประตู ลูกบิดประตู ราวบันได ปุ่มกดลิฟต์ ห้องส้วม เป็นต้น

มีการปฏิบัติระดับมากที่สุด

6 มาตรการเสริม (SSET-CQ)

1

ดูแลตนเอง (Self care) ดูแล ใส่ใจ ปฏิบัติตน มีวินัย รับผิดชอบตัวเอง ปฏิบัติตามมาตรการอย่างเคร่งครัด และไม่ปิดบังข้อมูล กรณีสัมผัสใกล้ชิดกับผู้สัมผัสเสี่ยงสูง

มีการปฏิบัติระดับมากที่สุด

2

ใช้ช้อนส่วนตัว (Spoon) กินอาหารทุกครั้ง แยกกิน ไม่กินรวมกัน ลดสัมผัสร่วมกับผู้อื่น

มีการปฏิบัติระดับมากที่สุด

3

กินอาหารปรุงสุกใหม่ (Eating) กินอาหารปรุงสุกใหม่ ร้อน ๆ กรณีอาหารเก็บเกิน 2 ชั่วโมง ควรนำมาอุ่นให้ร้อนทั่วถึง ก่อนกินอีกครั้ง

มีการปฏิบัติระดับมากที่สุด

4

ลงทะเบียนไทยชนะ (Thai chana) ตามที่รัฐกำหนดด้วย app ไทยชนะ หรือลงทะเบียนบันทึกการเข้า ออก อย่างชัดเจน

มีการปฏิบัติระดับมาก

5

สำรวจตรวจสอบ (Check) สำรวจบุคคล นักเรียน กลุ่มเสี่ยงที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง เพื่อเข้าสู่กระบวนการคัดกรอง

มีการปฏิบัติระดับมากที่สุด

 

๕. ระดับการปฏิบัติในการดำเนินการตามมาตรการป้องกัน การแพร่ระบาดระลอกใหม่ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กรณีสถานศึกษามีรถรับ-ส่งนักเรียน

ข้อ

มาตรการของสถานศึกษา

ระดับการปฏิบัติ

1

ทำความสะอาดรถรับ-ส่งนักเรียนและบริเวณจุดสัมผัสเสี่ยงทุกครั้งที่ให้บริการนักเรียน

มีการปฏิบัติระดับน้อย

2

นักเรียนที่ใช้บริการรถรับ-ส่งนักเรียนต้องสวมหน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัยตลอดเวลาที่อยู่บนรถ

มีการปฏิบัติระดับน้อย

3

การจัดที่นั่งบนรถรับนักเรียน จัดให้มีการเว้นระยะห่างระหว่างบุคคล และมีสัญลักษณ์ป้ายบอกที่นั่ง

มีการปฏิบัติระดับน้อย

4

ก่อนและหลังให้บริการรับนักเรียนแต่ละรอบ ควรเปิดหน้าต่าง ประตูระบายอากาศให้ถ่ายเทได้สะดวก

มีการปฏิบัติระดับน้อย

5

จัดให้มีเจลแอลกอฮอล์สำหรับใช้ทำความสะอาดมือ

มีการปฏิบัติระดับน้อย

6

ให้มีการเข้าแถว เว้นระยะห่าง ก่อนขึ้นรถทุกครั้ง

มีการปฏิบัติระดับน้อย

๖. การดำเนินการตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดระลอกใหม่ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) กรณีการฉีดวัคซีน

ข้อ

มาตรการของสถานศึกษา

ระดับการปฏิบัติ

1

มีผลการสำรวจข้อมูลความต้องการในการฉีดวัคซีนของครูและบุคลากร

มีการปฏิบัติระดับน้อยที่สุด

2

ครูและบุคลากร ได้รับการฉีดวัคซีน ครบ 2 เข็ม แล้ว

มีการปฏิบัติระดับน้อยที่สุด

3

ครูและบุคลากร ได้รับการฉีดวัคซีน ครบ 1 เข็ม แล้ว

มีการปฏิบัติระดับน้อยที่สุด

4

ครูและบุคลากร ไม่ต้องการรับการฉีดวัคซีน

มีการปฏิบัติระดับน้อยที่สุด

5

มีผลการสำรวจข้อมูลความต้องการในการฉีดวัคซีนของนักเรียน อายุ 18 ปี ขึ้นไป /td>

มีการปฏิบัติระดับน้อยที่สุด

6

ครูและบุคลากรที่ได้รับการฉีดวัคซีน มีการเตรียมตัวเตรียมพร้อมก่อนเข้ารับการฉีด เช่น ดื่มน้ำมากๆ นอนหลับเพียงพอ รวมถึงสังเกตอาการแพ้หรืออาการผิดปกติหลังฉีดทุกครั้ง

มีการปฏิบัติระดับน้อยที่สุด

7

ครูและบุคลากรที่ได้รับการฉีดวัคซีน มีการเตรียมตัวเตรียมพร้อมก่อนเข้ารับการฉีด เช่น ดื่มน้ำมากๆ นอนหลับเพียงพอ รวมถึงสังเกตอาการแพ้หรืออาการผิดปกติหลังฉีดทุกครั้ง

มีการปฏิบัติระดับน้อยที่สุด

 

๗. ปัญหาอุปสรรค

๑) เด็กเล็กการดูแลและเว้นระยะห่างทำได้ยากไม่สามารถปฎิบัติตามมาตรการได้

๒) ครูและบุคลากรส่วนใหญ่ยังไม่ได้รับวัคซีน

๓) ผู้ปกครองยังไม่มั่นใจความปลอดภัยของบุตรหลาน

๔) มีนักเรียนทีบ้านอยู่บริเวณใกล้เคียงพื้นที่ที่มีการระบาดของโรค โควิด19 จึงไม่สามารถมารับส่งใบงานได้

๕) เด็กๆ ไม่สามารถสวมแม๊สได้ตลอดเวลา

๖) มีผู้ปกครองนักเรียนต้องไปพบเจอผู้คนที่มาจากจังหวัดอื่นทำให้เสี่ยงต่อการติดเชื้อ

๗) ผู้ปกครองไม่มีอุปกรณ์สื่อสารสนับสนุนในการจัดการเรียนการสอน ในกรณีที่สอนแบบออนไลน์

๘) มีผู้ติดโควิดหมู่บ้านใกล้เคียงเป็นเขตจังหวัดสุพรรณบุรีและปัจจุบันในเขตอ.บ้านไร่มีการระบาดจึงเป็นการยากที่จะควบคุมคัดกรองผู้ปกครองและเด็กๆ

๙) มีการใช้แอลกอฮอล์ แมสก์ สบู่ ต่อวันจำนวนมากมีปัญหาเรื่องงบประมาณ

๑๐) เด็กบางคนยังไม่มาเรียนเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด -19

๑๑) ปัญหาเรื่องการติดต่อสื่อสารกับนักเรียนเกี่ยวกับการจัดการเรียนการเรียนการสอนช่วงโควิด

๑๒) ผู้ปกครองจำนวนมากไม่พาเด็กมาเรียนเนื่องจากกลัวติดเชื้อโควิด 19

๑๓) ผู้ปกครองปิดบังข้อมูล ผู้ปกครองมาไม่แจ้งครู มาจากต่างจังหวัด

๑๔) งบประมาณในการดูแลและป้องกันตามมาตรการสาธารณสุขในสถานศึกษา

๑๕) นักเรียนมีฐานะยากจน ขาดความพร้อมในการเรียนในระบบ Online On air

๑๖) นักเรียนส่วนใหญ่อาศัยกับผู้ปกครองที่เป็น ปู่ ย่า ตา ยาย ไม่ค่อยได้กำกับดูแล ในการเรียนแบบ On hand ๑๗. สามารถควบคุมนักเรียนอยู่ในพื้นที่ไม่มีการเดินทาง แต่ไม่สามารถควบคุมผู้ปกครองได้

๑๘) มีผู้ติดเชื้อเดินทางมาขายสินค้าในพื้นที่ใกล้เคียง ทำให้มีความเสี่ยงในการแพร่ระบาด

๑๙) ห้องเรียนคับแคบ ไม่มีบริเวณในการเว้นระยะห่าง สถานที่ไม่เพียงพอต่อการเว้นระยะห่าง

๒๐) ผู้ปกครองมาจากต่างจังหวัดที่เป็นพื้นที่เสี่ยงเพื่อมาหาลุก

๒๑) การควบคุมการเว้นระยะห่างของนักเรียน ช่วงเดินทางมาโรงเรียนด้วยรถรับส่ง

๒๒) เด็กบางคนยังไม่ยอมสวมหน้ากากอนามัย

๒๓) เด็กเล็กไม่ค่อยสวมหน้ากากอนามัย

๒๔) การได้รับวัคซีน และการเข้าถึงข้อมูลที่เป็นข้อมูลจริงช้า และไร้ประสิทธิภาพ

๒๕. สถานศึกษาขาดงบประมาณในการพัฒนา/ปรับปรุงให้เป็นไปตามมาตรการฯ,ผู้ปกครองไม่มีอุปกรณ์สื่อสารสนับสนุนการเรียน Online ตามมาตรการฯ (เช่น อินเทอร์เน็ต โทรศัพท์ สมาร์ทโฟน

แท็บเล็ตฯ)

๒๖) นักเรียนไม่มีความพร้อมด้านอุปกรณ์ ในการเรียน Online

๒๗) นักเรียน ผู้ปกครอง ขาดแคลนเครื่องมือในการสื่อสาร เช่น สมาร์ทโฟน อินเตอร์เน็ตในการจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์

๒๘) ไม่สามารถจัดกิจกรรมประจำวัน ได้ตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด 19 ได้เนื่องจาก ข้อจำกัดด้านบุคลากรต่อจำนวนเด็กไม่เหมาะสม

๒๙) โรงเรียนที่ตั้งอยู่บนพื้นที่ภูเขาสูง เมื่อฤดูฝนมีลมแรงฝนตกหนักต้นไม้ใหญ่หักทับสายไฟ จึงทำให้ไฟฟ้าดับบ่อยสัญญาณอินเตอร์เน็ตไม่เสถียร ไม่มีกล่องรับสัญญาณ การจัดการเรียนการสอนของครูและการทำงานของ

๓๐) นักเรียนที่กักตัวครูไม่สามารถจัดการเรียนการสอนได้ในรูปแบบอื่นครบ 100%

๓๑) ผู้ที่มาจากพื้นที่เสี่ยงไม่รายงานต่อหน่วยงานปกครองหรือหน่วยงานสาธารณสุข ทำให้โรงเรียนไม่ได้รับข้อมูลที่ถูกต้อง เมื่อพบว่าเด็กมีความเสี่ยงต่อการติดเชื้อผู้คนที่เดินทางมาจากพื้นที่เสี่ยง ทำให้เด็กเหล่านี้ได้รับผลกระทบโดยการถูกให้กักตัวเป็นระยะเวลา 14 วัน และเรียนในรูปแบบ On-Hand ทำให้ผู้ปกครองต้องเสียเวลาในการประกอบอาชีพ

๓๒) เด็กในช่วงอายุ2-4ปี ไม่สามารถปฏิบัติตามมาตรการ DMHTT ได้อย่างเคร่งครัด

 

๘. ข้อเสนอแนะ

๑) ควรให้นักเรียนหยุดอยู่บ้านและนำใบงานแบบฝึกหัดไปทำที่บ้านจะปลอดภัยกว่ามาโรงเรียน

๒) ควรมีการประกาศล็อดดาวน์บ้างพื้นที่บ้างอำเภอให้ชัดเจนศูนย์ต้องปฏิบัติตามคำสั่งจังหวัดมีมาตรการและเฝ้าระวังอย่างเข้มงวด

๓) เร่งรัดการจัดสรรวัคซีนให้ทั้ง ครู นักเรียน ผู้ปกครอง ให้ได้มากที่สุด ให้บุคลากรได้รับการฉีดวัคซีนให้ครบ

๔) จัดสรรงบการจัดซื้อวัสดุ หน้ากากอนามัย แอลกอฮอลก์เพิ่มเติม

๕) มีมาตรการเอาผิดผู้ปกครอง ที่ปกปิดข้อมูล ควรมีมาตรการที่เข้มงวดและร่วมกันรับผิดชอบ

๖) ขอความร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ท้องถิ่นในเรื่องให้ความรู้ในการกักตัว

๗) ควรปิดศพด.ก่อน เพราะสถานการณ์โควิด 19

๘) สพฐ.ควรจัดสรรงบประมาณเพื่อใช้ในการป้องกันและเฝ้าระวังโควิดให้มากขึ้น

๙) การจัดอาหารเสริมนมควรจัดเป็นชนิดกล่อง(UHT)

๑๐) โรงเรียนให้ความรู้ที่ถูกต้องแก่ชุมชน

๑๑) สมควรที่จะเลื่อนเปิดเทอมออกไป

๑๒) ควรกำหนดมาตรการการเปิดและสถานศึกษา ให้เป็นแนวปฏิบัติในแนวทางเดียวกัน

๑๓) ควรมีมาตรการ กำกับติดตามและประสานการป้องกันในศูนย์เด็กให้มากกว่าปัจจุบัน

๑๔) ควรปิดสถานศึกษาระดับปฐมวัยไปก่อน เนื่องจากเด็กเล็กยังไม่สามารถดูแลและระมัดตนเองจากโรคโควิคได้

๑๕) เลื่อนเปิดเทอม ให้เด็กอยู่กับบ้านไปก่อน

 



 บันทึข้อมูลโดย: นางอนุสรณ์ อุ้ยสิงห์