ข้อสรุปของ ข้อสรุปการตรวจราชการของศึกษาธิการจังหวัด บันทึกเมื่อวันที่ Date: 06 พฤษภาคม 2565

หัวข้อการตรวจกรณีพิเศษ : โครงการพาน้องกลับมาเรียน

รายงานการลงพื้นที่การตรวจราชการของผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ

กรณีปกติ รอบที่ ๑ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๕ ในพื้นที่เขตตรวจราชการที่ ๑๓

จังหวัดนครราชสีมา ของผู้ตรวจราชการกระทรวงศึกษาธิการ (นายไพศาล วุทฒิลานนท์)

วันที่ ๑๖ เดือน ธันวาคม พ.ศ.๒๕๖๔

...................................................................................................................................................................

โรงเรียนตำบลโคกกรวด(ผดุงรัฐประชานุกูล)  อำเภอเมือง  จังหวัดนครราชสีมา

 

ตอนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป

. ชื่อสถานศึกษา  โรงเรียนตำบลโคกกรวด(ผดุงรัฐประชานุกูล)  จังหวัดนครราชสีมา

    สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต  ๑

. ชื่อผู้บริหารสถานศึกษา  นายชัยวัฒน์ คารมย์กลาง  โทร ๐๘๑-๘๗๘๗๗๔๘

. ข้อมูลข้าราชการครูทั้งหมด ๕๐ คน  ครูอัตราจ้าง - คน  พนักงานราชการ - คน

    บุคลากรทางการศึกษา ๑๖ คน

๔. ข้อมูลจำนวนนักเรียน ๑,๐๒๖ คน  (ข้อมูล ณ วันที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๖๔) แยกเป็นรายชั้น ดังนี้

 

ชั้น

จำนวนนักเรียน

 

รวม

หมายเหตุ

ชาย

หญิง

อ.๒

๒๔

๔๑

๖๕

 

อ.๓

๔๐

๓๖

๗๖

 

ป.๑

๔๗

๔๓

๙๐

 

ป.๒

๕๔

๕๓

๑๐๗

 

ป.๓

๖๓

๕๘

๑๒๑

 

ป.๔

๖๑

๖๔

๑๒๕

 

ป.๕

๖๓

๖๒

๑๒๕

 

ป.๖

๖๕

๕๙

๑๒๔

 

ม.๑

๔๕

๒๕

๗๐

 

ม.๒

๓๘

๓๔

๗๒

 

ม.๓

๒๙

๒๒

๕๑

 

รวม

๕๒๙

๔๙๗

๑,๐๒๖

 

 

๕. ข้อมูลครูผู้สอนจำแนกตามวิชาที่สอน ทั้งหมด ๔๖ คน (ข้อมูล ณ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๖๔)

 

รายวิชา

จำนวน (คน)

หมายเหตุ

ปฐมวัย

 

ภาษาไทย

 

รายวิชา

จำนวน (คน)

หมายเหตุ

คณิตศาสตร์

 

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

 

สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

 

สุขศึกษาและพลศึกษา

 

ศิลปะ

 

การงานอาชีพ

 

ภาษาต่างประเทศ

 

การค้นหาเด็กวัยเรียนหลุดจากระบบการศึกษาและติดตามให้ความช่วยเหลือเข้าสู่ระบบการ ศึกษาข้อมูลนักเรียนออกกลางคัน เด็กตกหล่นที่หลุดจากระบบการศึกษา (Drop Out) จำนวนเด็กออกกลางคัน

 

          - ปีการศึกษา ๒๕๖๔  มีนักเรียน ๑,๐๒๖ คน  ออกกลางคัน ๑๒ คน  คิดเป็นร้อยละ ๑.๑๖

ข้อมูลนักเรียนออกกลางคัน (ข้อมูล ณ วันที่ ๑๖ ธ.ค. ๒๕๖๔)

 

ที่

ชื่อ-สกุล

ชั้น

ข้อค้นพบ/สาเหตุ

การกำกับติดตาม /แนวทางการแก้ไข

ด.ญ.สุทัตตา

     กันยาพรกุล

ป.๑/๑

มีปัญหาครอบครัว

ทางโทรศัพท์ : ไม่สามารถติดต่อได้

ด.ญ.มลิวรรณ

     บรรจงปรุ

ป.๖/๑

ผู้ปกครองไม่สามารถควบคุมบุตรหลานได้

เยี่ยมบ้าน : นักเรียนไม่ได้อยู่กับผู้ปกครอง    ไปอาศัยอยู่กับญาติ

ด.ช.กิตติ

     วนิชวิทย์

ม.๑/

ผู้ปกครองไม่สามารถควบคุมบุตรหลานได้

ทางโทรศัพท์ : ผู้ปกครองขอรับวุฒิ ป.๖      เพื่อไปเรียนต่อ กศน.

ด.ช.รัฐศาสตร์

     คำเหิม

.๑/๑

ผู้ปกครองไม่สามารถควบคุมบุตรหลานได้

ทางโทรศัพท์ : ผู้ปกครองขอรับวุฒิ ป.๖      เพื่อไปเรียนต่อ กศน.

ด.ญ.นภสร

     สอนสติ

ม.๒/๑

ผู้ปกครองไม่สามารถควบคุมบุตรหลานได้

เยี่ยมบ้าน : ผู้ปกครองขอรับวุฒิ ป.๖          เพื่อไปสมัครเรียนที่โรงเรียนอื่น 

ด.ญ.ปิยะรัตน์           

     แป้นกระโทก

ม.๒/๑

ผู้ปกครองไม่สามารถควบคุมบุตรหลานได้

เชิญผู้ปกครอง : ผู้ปกครองขอรับวุฒิ ป.๖    เพื่อไปเรียนต่อ กศน.

ด.ช.อติเทพ

     ยอดแก้ว

ม.๒/๒

ผู้ปกครองไม่สามารถควบคุมบุตรหลานได้

ทางโทรศัพท์ : ผู้ปกครองขอรับวุฒิ ป.๖      เพื่อไปเรียนต่อ กศน.

ด.ช.รัญชัย

     ศรีทา

ม.๒/๒

ผู้ปกครองไม่สามารถควบคุมบุตรหลานได้

ทางโทรศัพท์ : ผู้ปกครองแจ้งว่านักเรียนจะกลับมาเรียน

ด.ญ.เสาวณี              

     พวยกระโทก

ม.๒/๒

ผู้ปกครองไม่สามารถควบคุมบุตรหลานได้

ทางโทรศัพท์ : ผู้ปกครองขอวุฒิ ป.๖         เพื่อไปเรียนต่อ กศน.

ที่

ชื่อ-สกุล

ชั้น

ข้อค้นพบ/สาเหตุ

การกำกับติดตาม /แนวทางการแก้ไข

๑๐

นายสิรภัทร         

     เที่ยงสันเทียะ

ม.๓/๑

ผู้ปกครองไม่สามารถควบคุมบุตรหลานได้

เชิญผู้ปกครอง : ผู้ปกครองขอวุฒิ ป.๖       เพื่อไปเรียนต่อ กศน.

๑๑

ด.ญ.กัญญรัตน์

     วงษ์เพ็ญ

ม.๓/๑

ผู้ปกครองไม่สามารถควบคุมบุตรหลานได้

เชิญผู้ปกครอง : ผู้ปกครองขอวุฒิ ป.๖       เพื่อไปเรียนต่อ กศน.

๑๒

ด.ญ.อรนภา

     ธรรมนิยาย

ม.๓/๑

ผู้ปกครองไม่สามารถควบคุมบุตรหลานได้

เชิญผู้ปกครอง : ผู้ปกครองขอวุฒิ ป.๖       เพื่อไปเรียนต่อ กศน.

 

๒.๕.๑ ข้อค้นพบ/ปัญหาและอุปสรรค

                             ๑) ปัญหาครอบครัวของนักเรียน

                             ๒) ผู้ปกครองไม่สามารถควบคุมบุตรหลานให้มาเรียนได้

                    ๒.๕.๒ แนวทางการแก้ไข/ข้อเสนอแนะ

                         โรงเรียนมีโครงการรองรับและข้อเสนอแนะ ดังนี้        

                             ๑) โครงการระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน (การเยี่ยมบ้าน)

                             ๒) ปีการศึกษา ๒๕๖๕ โรงเรียนจะดำเนินการโครงการแก้ปัญหาเด็กออกกลางคัน(Drop Out) และที่จบการศึกษาภาคบังคับ (ม.๓) แล้ว แต่ยังไม่มีงานทำ ดังนี้

                                  ๒.๑) ได้ประสานงานกับเทศบาลตำบลโคกกรวด กำนันตำบลโคกรวด ชุมชนและเครือข่าย ผู้ปกครอง โดยจะดำเนินการสำรวจนักเรียนที่ยังไม่จบการศึกษาภาคบังคับ(ม.๓) ๓ ปี ย้อนหลัง เข้ามาทำข้อตกลงเพื่อหาสาเหตุปัญหาต่างๆ ให้กลับมารับการศึกษาในรูปแบบต่างๆ เช่น On-Hand online เพื่อให้นักเรียนได้จบการศึกษาภาคบังคับ (.) ภายใต้แนวคิดเราจะไม่ทิ้งเด็กเพื่อให้เด็กคืนสู่สถานศึกษา

                                 ๒.๒) ทำ MOU กับกรมพัฒนาฝีมือแรงงานร่วมกับสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต ๑ และกระทรวงพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ สำหรับนักเรียนที่จบการศึกษาภาคบังคับระดับชั้น ม.๓ แล้ว แต่ยังไม่มีงานทำ อายุไม่เกิน ๒๕ ปี ที่ไม่สามารถเรียนต่อในระดับที่สูง ขึ้นเพื่อการมีงานทำ เข้ารับการอบรมพัฒนาอาชีพระยะสั้น (ระยะ ๓ เดือน ) โดยไม่เสียค่าใช้จ่ายทั้งอาหารและมีที่พักตลอดระยะเวลาการอบรม

โรงเรียนอนุบาลนครราชสีมา  อำเภอเมือง  จังหวัดนครราชสีมา

 

ตอนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป

๑. ชื่อสถานศึกษา โรงเรียนอนุบาลนครราชสีมา อำเภอเมืองนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา

    สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต ๑

. ชื่อผู้บริหารสถานศึกษา นายเกษม มารครบุรี  โทร ๐๖๔-๔๓๕๙๙๙

๓. ข้อมูลข้าราชการครูทั้งหมด ๑๖๑ คน บุคลากรทางการศึกษา ๓๙ คน 

๔. ข้อมูลจำนวนนักเรียนทั้งหมด ๔,๒๒๙ คน (ข้อมูล ณ วันที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๖๔) แยกเป็นรายชั้น ดังนี้

 

ชั้น

จำนวนนักเรียน

 

รวม

หมายเหตุ

ชาย

หญิง

อ.๒

๑๖๐

๑๘๙

๓๔๙

 

อ.๓

๑๗๗

๑๘๒

๓๕๙

 

ป.๑

๒๗๐

๒๘๕

๕๕๕

 

ป.๒

๒๓๐

๓๑๕

๕๔๕

 

ป.๓

๓๐๕

๓๓๓

๖๓๘

 

ป.๔

๓๐๘

๒๙๘

๖๐๖

 

ป.๕

๒๙๘

๒๘๘

๕๘๖

 

ป.๖

๒๘๗

๓๐๕

๕๙๒

 

รวม

,๐๓๕

,๑๙๔

,๒๒๙

 

 

๕. ข้อมูลครูผู้สอนจำแนกตามวิชาที่สอน (ข้อมูล ณ วันที่ ๑๖ ธันวาคม ๒๕๖๔ )  ดังนี้

 

รายวิชา

จำนวน (คน)

หมายเหตุ

ปฐมวัย

๒๔

 

ภาษาไทย

๓๙

 

คณิตศาสตร์

๓๔

 

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

๒๗

 

สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

๑๘

 

รายวิชา

จำนวน (คน)

หมายเหตุ

สุขศึกษาและพลศึกษา

๑๐

 

ศิลปะ

๑๔

 

การงานอาชีพ

 

ภาษาต่างประเทศ

๒๒

 

การค้นหาเด็กวัยเรียนหลุดจากระบบการศึกษาและติดตามให้ความช่วยเหลือเข้าสู่ระบบการศึกษา ข้อมูลจำนวนนักเรียนออกกลางคัน เด็กตกหล่นที่หลุดจากระบบการศึกษา (Drop Out)     

๒.๕.๑ การดำเนินการ

โรงเรียนอนุบาลนครราชสีมาไม่มีนักเรียนออกกลางคัน(Drop Out)  โดยโรงเรียนได้วางแผน

ในการดำเนินการดูแลช่วยเหลือและติดตามนักเรียน จนส่งผลให้โรงเรียนอนุบาลนครราชสีมาได้รับรางวัลยอดเยี่ยมในเรื่องระบบดูแลการช่วยเหลือนักเรียน ระดับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประจำปี ๒๕๖๔

          ๒.๕.๒ ข้อค้นพบ / ปัญหาอุปสรรค   -

๒.๕.๓ แนวทางแก้ไข / ข้อเสนอแนะ   -

วิทยาลัยเทคโนโลยีอาชีวศึกษานครราชสีมา (ATEC)  อำเภอเมือง  จังหวัดนครราชสีมา

 

ตอนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป

๑. ชื่อสถานศึกษา วิทยาลัยเทคโนโลยีอาชีวศึกษานครราชสีมา  อำเภอเมืองนครราชสีมา  จังหวัดนครราชสีมา   

    สังกัดสำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา (สอศ.) กระทรวงศึกษาธิการ

. ชื่อผู้บริหารสถานศึกษา  นายพิสิษฐ์  ศิริรักษ์  โทร ๐๔๔-๙๕๕๑๑๑-๓  Fax ๐๔๔-๙๕๕๑๑๒

๓. ข้อมูลข้าราชการครูทั้งหมด ๔๒ คน  ครูอัตราจ้าง - คน  พนักงานราชการ - คน 

    บุคลากรทางการศึกษา - คน

๔. ข้อมูลจำนวนนักเรียนทั้งหมด ๔๙๑ คน (ข้อมูล ณ วันที่ ๑๖ ธ.ค. ๒๕๖๔ ) แยกเป็นรายชั้น ดังนี้

 

ชั้น

จำนวนนักเรียน

 

รวม

หมายเหตุ

ชาย

หญิง

ปวช.๑

๔๗

๕๔

๑๐๑

 

ปวช.๒

๓๑

๖๑

๙๒

 

ปวช.๓

๖๕

๕๒

๑๑๗

 

ปวส.๑

๔๑

๔๔

๘๕

 

ปวส.๒

๕๓

๔๓

๙๖

 

รวม

๒๓๗

๒๕๔

๔๙๑

 

 

๕. ข้อมูลครูผู้สอนจำแนกตามวิชาที่สอน  ทั้งหมด ๔๒ คน  (ข้อมูล ณ วันที่ ๑๖ ธ.ค. ๒๕๖๔ )  ดังนี้

 

รายวิชา

จำนวน (คน)

หมายเหตุ

สาขาวิชาช่างยนต์

 

สาขาวิชาช่างกลโรงงาน

 

สาขาวิชาช่างไฟฟ้ากำลัง

 

สาขาวิชาช่างอิเล็กทรอนิกส์

 

สาขาวิชาการบัญชีคอมพิวเตอร์ธุรกิจ

 

สาขาวิชาภาษาต่างประเทศ

 

สาขาวิชาธุรกิจสถานพยาบาล

 

รายวิชา

จำนวน (คน)

หมายเหตุ

หมวดวิชาสามัญ

๑๗

 

รวม

๔๒

 

การค้นหาเด็กวัยเรียนหลุดจากระบบการศึกษาและติดตามให้ความช่วยเหลือเข้าสู่ระบบการศึกษา ข้อมูลจำนวนนักเรียนออกกลางคัน เด็กตกหล่นที่หลุดจากระบบการศึกษา (Drop Out)     แยกตามระดับชั้น (ข้อมูล ณ วันที่ ๑๖ ธ.ค. ๒๕๖๔)  ดังนี้

 

ระดับชั้น

จำนวนเด็กออกกลางคัน (คน)

ปวช.๑

ปวช.๒

-

ปวช.๓

ปวส.๑

ปวส.๒

รวม

 

๒.๕.๑ การดำเนินการ

                             วิทยาลัยเทคโนโลยีอาชีวศึกษานครราชสีมา ได้ดำเนินการเรื่องการค้นหาเด็กวัยเรียนหลุดจากระบบการศึกษา โดยการประชาสัมพันธ์ในหลายช่องทางของวิทยาลัยฯ ได้แก่ Website, Facebook, Brochure, การแนะนำหรือบอกต่อจากผู้ปกครองและนักศึกษาในวิทยาลัย และการออกค่ายบริการทางวิชาการแก่ชุมชน การติดตามให้ความช่วยเหลือเข้าสู่ระบบการศึกษา โดยติดต่อให้คำปรึกษาและแนะแนวด้านการเรียนโดยวิธี การโทรศัพท์, Facebook Messenger, Line และการเยี่ยมบ้าน เป็นต้น เพื่อลดอัตราการ Drop out และการติดตามช่วยเหลือนักศึกษาเข้าสู่ระบบการศึกษา

          ๒.๕.๒ ข้อค้นพบ / ปัญหาอุปสรรค   -

๒.๕.๓ แนวทางแก้ไข / ข้อเสนอแนะ  -

โรงเรียนบุญเหลือวิทยานุสรณ์  อำเภอเมือง  จังหวัดนครราชสีมา

 

ตอนที่ ๑ ข้อมูลทั่วไป

. ชื่อสถานศึกษา  โรงเรียนบุญเหลือวิทยานุสรณ์  อำเภอเมืองนครราชสีมา  จังหวัดนครราชสีมา

    สังกัด สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา

. ชื่อผู้บริหารสถานศึกษา  นายไกรศร ทองมูลชัย  โทร  ๐๘๑-๗๖๐๙๔๔๘

. ข้อมูลข้าราชการครูทั้งหมด  ๑๐๒ คน  ครูอัตราจ้าง ๖ คน พนักงานราชการ ๒ คน 

    บุคลากรทางการศึกษา ๒๒ คน

. ข้อมูลจำนวนนักเรียนทั้งหมด  ๒,๐๗๒ คน (ข้อมูล ณ วันที่  ๑๐ พ.ย. ๖๔) แยกเป็นรายชั้น ดังนี้

 

ชั้น

จำนวนนักเรียน

 

รวม

หมายเหตุ

ชาย

หญิง

ม.๑

๒๑๗

๑๗๘

๓๙๕

 

ม.๒

๒๐๐

๑๙๐

๓๙๐

 

ม.๓

๑๗๒

๑๗๖

๓๔๘

 

ม.๔

๑๕๔

๒๐๔

๓๕๘

 

ม.๕

๑๓๑

๑๖๙

๓๐๐

 

ม.๖

๑๒๕

๑๕๖

๒๘๑

 

รวม

๙๙๙

๑,๐๗๓

๒,๐๗๒

 

 

. ข้อมูลครูผู้สอนจำแนกตามวิชาที่สอน  ทั้งหมด  ๑๐๕  คน  (ข้อมูล ณ วันที่ ๑๖ ธ.. ๖๔ดังนี้

 

รายวิชา

จำนวน (คน)

หมายเหตุ

ภาษาไทย

๑๑

 

คณิตศาสตร์

๑๔

 

วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

๒๗

 

สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

๑๓

 

สุขศึกษาและพลศึกษา

 

ศิลปะ

 

การงานอาชีพ

 

รายวิชา

จำนวน (คน)

หมายเหตุ

ภาษาต่างประเทศ

๑๖

 

แนะแนว

 

.๕ การค้นหาเด็กวัยเรียนหลุดจากระบบการศึกษาและติดตามให้ความช่วยเหลือเข้าสู่ระบบการศึกษา ข้อมูลจำนวนนักเรียนออกกลางคัน เด็กตกหล่นที่หลุดจากระบบการศึกษา (Drop Out)     แยกตามระดับชั้น (ข้อมูล ณ วันที่ ๑๐ พ.ย. ๖๔ดังนี้

 

         จำนวนนักเรียนออกกลางคัน ปีการศึกษา ๒๕๖๒ - ปีการศึกษา ๒๕๖๔

 

ปีการศึกษา

จำนวนนักเรียนออกกลางคัน (คน)

ม.๑

ม.๒

ม.๓

ม.๔

ม.๕

ม.๖

รวม

๒๕๖๒

๑๑

๑๓

๔๙

๒๕๖๓

๑๑

๑๕

๓๙

๒๕๖๔

๒๕

 

..๑ การดำเนินการ

                            ...  การวางแผน (Plan)

                        ๑) ประชุมวางแผนและกำหนดระเบียบการปฏิบัติในการดำเนินการเฝ้าระวัง ติดตาม นักเรียนที่มีแนวโน้มออกกลางคัน โดยการมีส่วนร่วมของนักเรียน ครู ผู้บริหาร เครือข่ายผู้ปกครอง คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยกลุ่มบริหารกิจการนักเรียนเป็นผู้ประสานและกำหนดโครงการ/กิจกรรมและจัดสรรงบประมาณในการดำเนินการ

                            ...  การปฏิบัติตามแผน (Do)

                                  ๑) การจัดระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้ครบวงจร มีครูรับผิดชอบเด็ก ๑ ต่อ ๒๐ คนหรือน้อยกว่า คอยเป็นพ่อแม่คนที่ ๒ ที่เด็กรักและไว้วางใจ

                                  ๒) มีระบบข้อมูลเด็กรายบุคคล ครูต้องทราบข้อมูลครอบครัว สุขภาพและสิ่งแวดล้อมใกล้บ้านรวมทั้งพฤติกรรมสุ่มเสี่ยงที่เด็กแต่ละคนอาจได้รับผลกระทบ

                                  ๓) แนวทางการติดตามนักเรียนที่มีแนวโน้มออกกลางคัน

                                       .๑) กรณีเด็กนักเรียนมาสาย ขาดเรียน หนีเรียน

                                                ..๑) เมื่อนักเรียนมาสาย ขาดเรียน หนีเรียน ตั้งแต่ ๓ ครั้ง     ให้ครูที่ปรึกษาตักเตือนเพื่อให้นักเรียนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

                                                ..๒) เมื่อนักเรียนมาสาย ขาดเรียน หนีเรียน ตั้งแต่ ๔ ครั้ง     ให้ครูที่ปรึกษาแจ้งผู้ปกครองให้รับทราบเพื่อให้นักเรียนปรับเปลี่ยนพฤติกรรม

                                                ..๓) เมื่อนักเรียนมาสาย ขาดเรียน หนีเรียน ตั้งแต่ ๕ ครั้ง    ให้ครูที่ปรึกษาเชิญผู้ปกครองมาร่วมปรึกษาเพื่อหาแนวทางแก้ไข ตามระเบียบของโรงเรียนต่อไป

                                  ๔) การแก้ปัญหานักเรียนที่มีแนวโน้มออกกลางคัน

                                       .๑) ปัญหาความยากจน

                                                ..๑) จัดหาทุนเพื่อการศึกษา  อาหาร ค่าพาหนะ เสื้อผ้า

                                                ..๒) จัดหารายได้เสริมระหว่างเรียนให้เด็ก

                                       .๒) ปัญหาครอบครัว

                                                ..๑) ลดช่องว่างระหว่างครูกับนักเรียน โดยครูให้ความรักและเอาใจใส่ สนใจ ดูแล ให้คำปรึกษาในทุกด้าน

                                                ..๒) ให้ความรู้ผู้ปกครองในด้านการศึกษา ความสำคัญของการศึกษา จิตวิทยาในการปกครองดูแลเด็กในภาวะที่ครอบครัวมีปัญหา

                                                ..๓) ครู ให้คำแนะนำ เพื่อแก้ไขปัญหาให้เด็กอย่างทันท่วงที

                                                ..๔) พูดคุยกับผู้ปกครอง แนะนำให้ดูแลเด็กอย่างใกล้ชิด และไม่ควรสร้างแรงกดดันให้เด็ก ส่งเสริมให้เด็กได้รับการศึกษาตามที่กฎหมายกำหนด

                                       .๓) ปัญหาเนื่องจากการมีเพศสัมพันธ์ในวัยเรียน

                                                ..๑) กำหนดหลักสูตรเพศศึกษาในโรงเรียนโดยบูรณาการในวิชาต่างๆ หรือสาระพัฒนาทักษะชีวิตให้รู้จักดูแลปกป้องตนเองจากการถูกล่วงละเมิดทางเพศจากบุคคลอื่น

                                                ..๒) ครูที่ปรึกษาต้องแนะนำให้เด็กใช้สื่อในทางสร้างสรรค์ไม่หมกมุ่นทางเพศ

                                                ..๓) แนะนำการใช้ถุงยางอนามัยอย่างถูกต้อง เพื่อป้องกันการท้องในวัยเรียน

                                                ..๔) หากเด็กท้องก่อนวัยเรียน ครูต้องไม่พูดตอกย้ำถึงความผิดพลาดของนักเรียนให้เพื่อนร่วมชั้นได้รับรู้ โดยโรงเรียนต้องให้โอกาสเด็กกลุ่มนี้เรียนต่อไปจนจบการศึกษา ถ้าเด็กมีความประสงค์ต้องการเรียนต่อในระบบ

                                                ..๕) หากเพื่อนทราบว่าเด็กท้องก่อนวัยเรียน ครูควรพูดให้เพื่อนในชั้นเข้าใจในปัญหาของเด็กไม่ให้แสดงความรังเกียจ หรือพูดจาถากถาง และควรให้กำลังใจเพื่อนเรียนจนจบการศึกษา

                                                ..๖) หากเด็กไม่ประสงค์จะเรียนในระบบ ครูควรแนะนำการส่งต่อให้นักเรียนดังกล่าวไปเรียนการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.อำเภอ)

                                                ..๗) ให้ทุกฝ่ายร่วมมือกันดูแลช่วยเหลือนักเรียนดังกล่าวอย่างทั่วถึง ทั้งครู ผู้นำชุมชน ผู้ปกครอง ไม่ให้มีการพูดซ้ำเติมเด็กที่ผิดพลาดไปแล้ว

                                       .๔) ปัญหาความเจ็บป่วย/อุบัติเหตุ

                                                ..๑) ผู้บริหารควรไปเยี่ยมบ้านเด็กด้วยตนเอง และชวนเพื่อนครูไปเยี่ยมเด็กที่บ้าน เพื่อสร้างขวัญกำลังใจรวมถึงสร้างความสัมพันธ์อันดี

                                                ..๒) กรณีเด็กเกิดอุบัติเหตุ โรงเรียนควรเข้าไปช่วยเหลืออำนวยความสะดวกในการเข้ารักษาพยาบาลโดยด่วน

                                                ..๓) หมั่นติดตามถามข่าวหรือเยี่ยมเด็กบ่อยเท่าที่ทำได้

                                                ..๔) แจ้งผู้ปกครองให้ทำประกันหมู่ให้กับนักเรียนในสังกัด

                                                ..๕) ตรวจสุขภาพประจำปี โดยโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล และส่งต่อกรณีเจ็บป่วยหนัก

                                       .๕) ปัญหาอพยพตามผู้ปกครอง

                                                ..๑) แจ้งระเบียบการย้ายสถานที่เรียน

                                                ..๒) ติดตามโรงเรียนปลายทางการเข้าเรียนของนักเรียน

                                                ..๓) สร้างความตระหนักในเรื่องความสำคัญทางการศึกษาให้ผู้ปกครองและนักเรียนได้รับทราบ

                                       .๖) ปัญหาการเรียนการสอน

                                                ..๑) ผู้บริหารประชุมครู และสร้างจิตสำนึกให้ครูมีความเป็นครูที่มีคุณธรรม สละเวลาสอนซ่อมให้เด็กที่มีปัญหาในการเรียนโดยไม่เก็บค่าใช้จ่ายเพิ่ม

                                                ..๒) คัดกรองเด็ก ศึกษาปัญหาเด็กเป็นรายบุคคล แยกประเภทเด็ก และดูแลเด็กตามสภาพปัญหาครูและผู้ปกครองร่วมมือกันศึกษาปัญหาที่มีและร่วมมือกันแก้ไขปัญหา

                                                ..๓) ครูสร้างนวัตกรรมและบรรยากาศการเรียนการสอนที่เร้าความสนใจของเด็ก กระตุ้นให้เด็กสนใจการเรียน ให้เด็กทำแบบฝึกหัดง่ายๆ หรือบูรณาการเรื่องการให้การบ้านสลับ วิชากันไปแต่ละสัปดาห์

                                                ..๔) จัดกิจกรรมที่ให้เด็กได้มีโอกาสแสดงออกซึ่งศักยภาพอย่างเต็มที่ มีการมอบรางวัลเพื่อให้เด็กภาคภูมิใจ

                                                ..๕) จัดหาสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยให้เพียงพอกับจำนวนเด็ก

จัดแหล่งเรียนรู้ทั้งในและนอกสถานศึกษาให้เอื้อต่อการจัดการเรียนการสอน

                                       .๗) ปัญหายาเสพติด

                                                ..๑) กำหนดหลักสูตรยาเสพติดในโรงเรียนโดยบูรณาการในวิชาต่างๆ หรือสาระพัฒนาทักษะชีวิตให้รู้จักดูแลปกป้องตนเองจากการใช้สารเสพติด

                                                ..๒) จัดกิจกรรมสุ่มตรวจสารเสพติดหากพบว่านักเรียนใช้สารเสพติด ครูต้องไม่พูดตอกย้ำถึงความผิดพลาดของนักเรียนให้เพื่อนร่วมชั้นได้รับรู้ โดยโรงเรียนต้องให้โอกาสเด็กกลุ่มนี้เรียนต่อไปจนจบการศึกษา ถ้าเด็กมีความประสงค์ต้องการเรียนต่อในระบบ และส่งต่อเพื่อบำบัด

                                                ..๓) หากเพื่อนทราบว่านักเรียนใช้สารเสพติด ครูควรพูดให้เพื่อนในชั้นเข้าใจในปัญหาของเด็กไม่ให้แสดงความรังเกียจ หรือพูดจาถากถาง และควรให้กำลังใจเพื่อนเรียนจนจบการศึกษา

                                                ..๔) หากเด็กไม่ประสงค์จะเรียนในระบบ ครูควรแนะนำการส่งต่อให้นักเรียนดังกล่าวไปเรียนการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน. อำเภอ)

                                                ..๕) ให้ทุกฝ่ายร่วมมือกันดูแลช่วยเหลือนักเรียนดังกล่าวอย่างทั่วถึง ทั้งครู ผู้นำชุมชน ผู้ปกครอง ไม่ให้มีการพูดซ้ำเติมเด็กที่ผิดพลาดไปแล้ว

                            ...  การตรวจสอบ (Check)

                        กลุ่มบริหารกิจการนักเรียนจัดให้มีการติดตามผลและรายงานผล ทั้งภายในสายชั้น ภายในโรงเรียน และการรายงานให้คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานได้ทราบ ในการที่จะมีข้อมูลที่ตรงกับความเป็นจริง การติดตามผลและรายงานผลจะเป็นประโยชน์ในการแก้ปัญหาร่วมกัน

                            ...  การปรับปรุงการดำเนินการ (Act)

                        ร่วมกันพิจารณาผลการดำเนินการและร่วมพิจารณาปรับปรุงแนวทางการดำเนินการเพื่อให้การช่วยเหลือนักเรียนให้มีโอกาสได้เรียนต่อในระบบต่อไป

 

          ..๒ ข้อค้นพบ / ปัญหาอุปสรรค

                             จากการดำเนินงานการค้นหาเด็กวัยเรียนหลุดจากระบบการศึกษาและติดตามให้ความช่วยเหลือเข้าสู่ระบบการศึกษาของโรงเรียนมีข้อมูลการออกกลางคัน จากข้อมูลพบว่าจำนวนนักเรียนที่ออกกลางคันมีจำนวนลดลงทุกปีการศึกษา แสดงถึงแนวทางการดำเนินการของโรงเรียนมีประสิทธิภาพในการป้องกันการออกกลางคันของนักเรียน โรงเรียนได้รับรางวัลและความสำเร็จ คือ “รางวัลระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน ประจำปี ๒๕๖๔ เกียรติบัตรระดับทอง อันดับ ๓ ประเภทสถานศึกษามัธยมศึกษาขนาดใหญ่”

 

..๓ แนวทางแก้ไข / ข้อเสนอแนะ

                            -

การลงพื้นที่ วันที่ 8 เมษายน 2565

 

โครงการพาน้องกลับมาเรียน

 

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา เขต 6 นครราชสีมา

ผลการดำเนินงาน

          จำนวนผู้เรียนที่ตกหล่น 60 คน /จำนวนกลับเข้ามาเรียน  52  คน จากติดตามพบตัว 60 คน  จำแนกเป็นไม่เรียนต่อ 7 คน  และเรียน กศน.  1  คน

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครราชสีมา เขต ติดตามค้นหาเด็กตกหล่นและ                     เด็กออกกลางคันให้กลับเข้าสู่ระบบการศึกษา  จำนวน  37  โรงเรียน  มีนักเรียนที่ต้องติดตาม  ติดตามเด็กได้ครบทุกคน  ได้รับโอกาสทางการศึกษาอย่างต่อเนื่องและมีคุณภาพ

ปัญหา อุปสรรค

1.  ปัญหาสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)  ทำให้โรงเรียน หลายแห่งปิดทำการเรียนการสอน  

          2. เด็กบางส่วนย้ายภูมิลำเนาไปกับผู้ปกครอง

ข้อเสนอแนะ

           1. โรงเรียนควรมีระบบการติดตามเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคันอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อให้เป็นไปตาม พ...การศึกษาภาคบังคับ

           2. ให้โรงเรียนนำระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนในการติดตามเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคัน ให้กลับเข้าสู่ระบบการศึกษา

 

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา

ตัวชี้วัดการติดตาม (KPI)

   สังกัด สพฐ.

1) จำนวนผู้เรียน 110,755 คน ได้รับการ นำกลับ ค้นหา พัฒนา ส่งต่อในระบบการศึกษาอย่างมี

คุณภาพ 100 % ก่อนเปิดภาคเรียน

2) คุณภาพของกระบวนการ นำกลับ ค้นหา พัฒนา ส่งต่อในระบบการศึกษา เป็นไปอย่างมี

ประสิทธิผลและประสิทธิภาพ

   สังกัด สชจำนวนที่ต้องติดตามและค้นหา 10,783 คน : 11 .. 65)

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

การดำเนินงานขับเคลื่อนโครงการ

1. การสร้างการรับรู้

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา ดำเนินงานขับเคลื่อนโครงการพาน้องกลับ
มาเรียน ในการสร้างการรับรู้ให้กับผู้บริหารสถานศึกษา ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา  ดังนี้

1.1 การประชาสัมพันธ์โครงการกระทรวงศึกษาธิการร่วมใจพาน้องกลับมาเรียนทางเว็บไซต์

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา (www.mattayom31.go.th)

1.2 หนังสือแจ้งแนวทางการดำเนินงานโครงการ

1.3 แจ้งที่ประชุมผู้บริหารสถานศึกษา

2. การนำนโยบายสู่การปฏิบัติ

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา  ดำเนินงานขับเคลื่อนโครงการพาน้องกลับ
มาเรียน ในการนำนโยบายสู่การปฏิบัติ ดังนี้

2.1 แต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินการติดตามค้นหาเด็กตกหล่นและออกกลางคันให้กลับเข้าสู่

ระบบการศึกษา โดยมีคณะทำงาน ประกอบด้วย ผู้บริหารสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครราชสีมา ประธานกลุ่มโรงเรียน 5 กลุ่ม ศึกษานิเทศก์ และบุคลากรกลุ่มส่งเสริมการจัดการศึกษา มีหน้าที่ดำเนินการตามแนวทางการติดตามค้นหาเด็กตกหล่นและออกกลางคันให้กลับเข้าสู่ระบบการศึกษาเพื่อ พาน้องกลับมาเรียนให้บรรลุตามวัตถุประสงค์โครงการส่งเสริมโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียมทางการศึกษา

2.2 ออกติดตามตามประเด็นการนิเทศ กำกับ และติดตามการจัดการศึกษา ครั้งที่ 2 ประจำ

ปีการศึกษา 2564

2.3 แจ้งให้สถานศึกษาที่มีนักเรียนออกกลางคันดำเนินการติดตามและรายงานผลการ

ติดตามในระบบ   ทาง https://dropout.edudev.in.th/ ที่สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกำหนด

2.4 โรงเรียนดำเนินการช่วยเหลือโดยใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนให้ครูที่ปรึกษาและ

คณะกรรมการระดับชั้นร่วมกันติดตามนักเรียน สร้างความเข้าใจกับผู้ปกครองในการให้นักเรียนสำเร็จการศึกษาภาคบังคับและการศึกษาขั้นพื้นฐาน

3. ผลการดำเนินงาน

ข้อมูลผลการปฏิบัติ (จำนวนผู้เรียน)

          จำนวนผู้เรียนที่ตกหล่น  145  คน /จำนวนกลับเข้ามาเรียน.  -  คน

ติดตามพบตัว                     จำนวน           117     คน

ยังไม่ได้ติดตาม                    จำนวน           -         คน

ติดตามแล้วไม่พบตัว              จำนนวน           28    คน

พบตัว แต่ไม่อยู่ในรายชื่อ        จำนวน           -         คน

 

 

 

4. ปัญหา อุปสรรค

4.1 ระยะเวลาในการดำเนินงานมีความกระชั้นชิด

4.2 ข้อมูลจำนวนนักเรียนออกกลางคันที่ได้รับจากโครงการฯ นั้น ไม่สอดคล้องกับข้อมูลใน

ระบบ DMC  ซึ่งในการติดตามนักเรียนออกกลางคันครั้งนี้ พบว่า นักเรียนส่วนใหญ่ได้ไปศึกษาต่อยังสถานศึกษาอื่นเป็นส่วนใหญ่

5. ข้อเสนอแนะ

ข้อมูลจำนวนนักเรียนออกกลางคัน ควรเป็นข้อมูลที่ตรงกับระบบ DMC เพื่อจะได้นำการสู่การปฏิบัติได้ตรงประเด็น

6. ปัจจัยสู่ความสำเร็จของการดำเนินงาน

6.1 การกำกับติดตามอย่างใกล้ชิด

6.2 ความร่วมมือของผู้บริหารและครูผู้สอน

 

หน่วยงาน โรงเรียนเอกชนในอำเภอบัวใหญ่และอำเภอใกล้เคียง

เครือข่ายพัฒนาคุณภาพการศึกษาสถานศึกษาเอกชนที่ 8

ตัวชี้วัดการติดตาม (KPI)

   สังกัด สพฐ.

1)      จำนวนผู้เรียน 110,755 คน ได้รับการ นำกลับ ค้นหา พัฒนา ส่งต่อในระบบการศึกษา

อย่างมีคุณภาพ 100 % ก่อนเปิดภาคเรียน

2)      คุณภาพของกระบวนการ นำกลับ ค้นหา พัฒนา ส่งต่อในระบบการศึกษา เป็นไปอย่างมี

ประสิทธิผลและประสิทธิภาพ

   สังกัด สชจำนวนที่ต้องติดตามและค้นหา 10,783 คน : 11 .. 65)

 

การดำเนินงานขับเคลื่อนโครงการ

1.       การสร้างการรับรู้

          ได้รับข้อมูลจากกระทรวงศึกษาธิการ  มีการชี้แจง  สร้างความเข้าใจ  ประชาสัมพันธ์แผนและแนวทางการบริหารจัดการให้แก่ผู้ปกครอง

2.       การนำนโยบายสู่การปฏิบัติ

          เมื่อได้รับนโยบายกระทรวง ทางโรงเรียนมีการแต่งตั้งคณะกรรมการติดตามค้นหาเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคันให้กลับเข้าสู่ระบบการศึกษา 

 

 

 

 

 

3.       ผลการดำเนินงาน

ข้อมูลผลการปฏิบัติ (จำนวนผู้เรียน)

          จำนวนผู้เรียนที่ตกหล่น......11.......คน /จำนวนกลับเข้ามาเรียน....7....คน ไปต่างประเทศ........คน

-          ติดตามพบตัว..................................คน

-          ยังไม่ได้ติดตาม.................-................คน

-          ติดตามแล้วไม่พบตัว.............3..........คน

-          พบตัว แต่ไม่อยู่ในรายชื่อ.........-........คน

4.       ปัญหา อุปสรรค

-          ผู้ปกครองประกอบอาชีพไม่เป็นหลักแหล่ง  มีการย้ายที่อยู่ไปตามตลาด

-          ผู้ปกครองไม่ให้ข้อมูล เนื่องจากการแยกทางของพ่อแม่นักเรียน ต่างคนต่างไม่ยอมให้ข้อมูล

ที่ชัดเจน  โดยอ้างว่านักเรียนอยู่กับอีกฝ่าย

5.       ข้อเสนอแนะ

-          กระทรวงควรพัฒนาระบบข้อมูลนักเรียนให้เชื่อมโยงได้ทุกสังกัด เพื่อลดความซ้ำซ้อนหรือ

ความไม่เชื่อมโยงของข้อมูล ลดกระบวนการติดตามให้สั้นลง

6.       ปัจจัยสู่ความสำเร็จของการดำเนินงาน

-          ความร่วมมือจากผู้ปกครอง

 

หน่วยงาน  วิทยาลัยเทคนิคบัวใหญ่  สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา

ตัวชี้วัดการติดตาม (KPI)

สังกัด สพฐ.

1)      จำนวนผู้เรียน 110,755 คนได้รับการ นำกลับ ค้นหา พัฒนา ส่งต่อในระบบการศึกษาอย่างมี

คุณภาพ 100% ก่อนเปิดภาคเรียน

2)      คุณภาพของกระบวนการ นำกลับ ค้นหา พัฒนา ส่งต่อในระบบการศึกษา เป็นไปอย่างมี

ประสิทธิผล และประสิทธิภาพ

สังกัด สช. จำนวนที่ต้องติดตามและค้นหา 10,783 คน : 11 .. 6

การดำเนินงานขับเคลื่อนโครงการ

1. การสร้างการรับรู้

          - ประชุมชี้แจงโครงการแก่คณะผู้บริหาร ครู และบุคลากรทางการศึกษา

          - ศึกษาแนวทางการดำเนินงานจากช่องทางต่าง ๆ เช่น คู่มือ, YouTube

2. การนำนโยบายสู่การปฏิบัติ

          - กำหนดผู้รับผิดชอบหลักและคณะทำงาน วิทยาลัยเทคนิคบัวใหญ่

          - สมัครลงทะเบียนใช้งานแอปพลิเคชั่น พาน้องกลับมาเรียน

 3. ผลการดำเนินงาน

          จำนวนผู้เรียนที่ตกหล่น   43   คน / จำนวนกลับเข้ามาเรียน   0   คน

          - ติดตามพบตัว   10   คน

          - ยังไม่ได้ติดตาม   0   คน

          - ติดตามแล้วไม่พบตัว   33   คน

          - พบตัว แต่ไม่อยู่ในรายชื่อ   คน

4. ปัญหา อุปสรรค

          - มีการย้ายที่อยู่อาศัยบ่อยๆ

          - ไม่มีข้อมูลอื่นๆ สนับสนุน / ตรวจสอบไม่พบ

          - เป็นนักศึกษาที่ออกนอนระบบเป็นระยะเวลาหลายปี

5. ข้อเสนอแนะ

                   - ควรมีข้อมูลที่อยู่อาศัยที่เป็นปัจจุบันประกอบข้อมูล

6. ปัจจัยสู่ความสำเร็จของการดำเนินงาน

                   - เชื่อมโยงข้อมูลทุกภาคส่วน

สำนักงานศึกษาธิการจังหวัด/สำนักงานการศึกษาเอกชนจังหวัดนครราชสีมา

 

จำนวนนักเรียนทั้งหมด

215

คน

ติดตามพบตัว

205

คน

นำข้อมูลมาจากเว็บไซต์

 

 

ยังไม่ได้ติดตาม

0

คน

พาน้องกลับมาเรียน

 

 

ติดตามแล้วไม่พบตัว

10

คน

 

จำแนกสาเหตุ

สามารถติดตามได้

คน

ไม่สามารถติดตามได้

คน

การคมนาคมไม่สะดวก

0

การคมนาคมไม่สะดวก

0

สุขภาพอนามัย

2

สุขภาพอนามัย

0

ความพิการ

0

ความพิการ

0

อยู่ในกลุ่มเสี่ยง

0

อยู่ในกลุ่มเสี่ยง

0

ได้รับผลกระทบจากภัยต่าง ๆ

2

ได้รับผลกระทบจากภัยต่าง ๆ

0

ความจำเป็นทางครอบครัว

8

ความจำเป็นทางครอบครัว

1

การประพฤติปฏิบัติขัดกับระเบียบของสถานศึกษา

0

การประพฤติปฏิบัติขัดกับระเบียบของสถานศึกษา

0

สภาพครอบครัว

2

สภาพครอบครัว

0

ผู้ปกครองมีรายได้น้อย ไม่พอเพียง

3

ผู้ปกครองมีรายได้น้อย ไม่พอเพียง

0

ปัญหาการปรับสภาพตัวเองในสังคม

2

ปัญหาการปรับสภาพตัวเองในสังคม

0

จบการศึกษาภาคบังคับและไม่ประสงค์จะเรียนต่อ

0

จบการศึกษาภาคบังคับและไม่ประสงค์จะเรียนต่อ

0

ได้รับผลกระทบจาก Covid-19

23

ได้รับผลกระทบจาก Covid-19

0

อายุพ้นเกณฑ์และไม่ประสงค์จะเรียนต่อ

0

อายุพ้นเกณฑ์และไม่ประสงค์จะเรียนต่อ

0

เข้าเรียนในสถานศึกษาสังกัดอื่น

88

เข้าเรียนในสถานศึกษาสังกัดอื่น

2

ไปเรียนต่อต่างประเทศ

23

ไปเรียนต่อต่างประเทศ

0

เรียนในสังกัดเดิม

0

เรียนในสังกัดเดิม

0

เสียชีวิต

5

เสียชีวิต

0

ย้ายถิ่นที่อยู่

14

ย้ายถิ่นที่อยู่

3

ไม่ระบุ

29

ไม่ระบุ

4

 

 

ตัวชี้วัด

ค่าเป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน (คน)

จำนวนเป้าหมาย

ผลการดำเนินงาน

ร้อยละ

เชิงปริมาณ

เด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคันในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้รับการติดตามค้นหาและกลับเข้าสู่ระบบการศึกษา

ร้อยละ 100

215

215

100

 

เชิงคุณภาพ

รายงานข้อมูลเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคันในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ได้รับการศึกษาอย่างมีคุณภาพ โดยการบูรณาการความร่วมมือกับหน่วยงานและภาคีเครือข่ายในการดูแล ช่วยเหลือ และส่งต่อ

1 ฉบับ

1 ฉบับ

1 ฉบับ

100

 

 

2. งบประมาณ

งบประมาณที่ได้รับ

งบประมาณที่ใช้ไป

คงเหลือเงินโอนคืน สช.

14,000

7,724

6,276

 

3. ปัญหาอุปสรรค

           โรงเรียนเอกชนบางโรง ไม่มีข้อมูลการติดต่อเพื่อค้นหาเด็กตกหล่น

 

4. การแก้ไขปัญหาและข้อเสนอแนะ

สืบหาข้อมูลติดต่อเด็กตกหล่นจากฐานระบบข้อมูล พาน้องกลับมาเรียนและขอร่วมมือจากโรงเรียนเอกชนในระบบด้วยกันในการค้นหาข้อมูลติดต่อนักเรียน

 


 



 บันทึข้อมูลโดย: จ.ส.อ.มงคล ทองเหลือง