ข้อมูลพื้นฐาน
รหัสโรงเรียน (MOE Code) : 1040051046
โรงเรียน : บ้านโคกสำราญ
เขตพื้นที่ : สพป.ขอนแก่น เขต 2
จังหวัด : ขอนแก่น
สังกัด : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เขตตรวจราชการ : 12

การลงตรวจพื้นที่

รายงานการลงพื้นที่ตรวจราชการและติดตามประเมินผลการขับเคลื่อนนโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

1. ด้านการพัฒนาครูและการจัดการเรียนการสอน
1.1 การจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนทุกระดับมีส่วนร่วมสร้างสรรค์การเรียนรู้ เพื่อให้เกิดสมรรถนะหลักและการพัฒนาตนเองตามความถนัดและความสนใจ (Active Learning)
  1) สภาพความก้าวหน้า
     การนำไปใช้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา ระบุ
     

ครูบางส่วนได้มีการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการจัดการเรียนรู้ เน้นการจัดการเรียนรู้ที่ลงมือปฏิบัติจริง ผู้เรียนศึกษาค้นคว้าหาความรู้ผ่านเทคโนโลยี ได้มีการนำไปใช้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย คณิตศาสตร์ วิทยาศาสตร์ ภาษาอังกฤษ การงานอาชีพ สุขและพลศึกษา เป็นต้น

     การนำไปใช้ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนระบุ
     
กิจกรรมชุมนุม/แนะแนว/ลูกเสือ-เนตรนารี
     อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
     

-

  2) ปัญหาและอุปสรรค
     ด้านครูผู้สอน
           ครูไม่ได้รับการอบรม/พัฒนาวิธีการจัดการเรียนการสอน แบบ Active Learning
           ครูขาดขวัญ กำลังใจ หรือแรงกระตุ้นในการจัดการเรียนการสอน
           ครูขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning
           ครูมีภาระงานมาก
           อื่น ๆ (ถ้ามี) ระบุ
     ด้านการบริหารจัดการ
           ผู้บริหารไม่ให้ความสำคัญกับการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning
           นโยบายขาดความต่อเนื่อง
           ขาดการมีส่วนร่วม
           ขาดการนิเทศ ติดตาม หรือผู้ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
     ด้านสื่อ วัสดุอุปกรณ์
           ขาดสื่อ วัสดุอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอนของผู้เรียน
           เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว อุปกรณ์ไม่ทันสมัย
           ขาดผู้ดูแล หรือซ่อมแซมสื่อ วัสดุอุปกรณ์
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
     อื่นๆ ระบุ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  

1) ควรมีการลดภาระงานครูที่ไม่เกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้ให้น้อยลง

2) แต่งตั้งพี่เลี้ยงระดับเขตพื้นที่ โดยให้ศึกษานิเทศเป็นโค้ช หรือพี่เลี้ยงในการให้คำแนะนำ และเป็นที่ปรึกษา ภายใต้การนิเทศ ติดตามการจัดการเรียนรู้เชิงรุก (Active Learning)

3) กำหนดปฏิทินในการนิเทศ ติตตาม มีการแต่งตั้งคณะทำงานระดับเขตพื้นที่ และระดับโรงเรียน  เพื่อทำการนิเทศ ติดตาม โดยใช้กระบวนการ PLC และกระบวนการชี้แนะ และการเป็นพี่เลี้ยง (Coaching & Mentoring)  มีการสะท้อนคิดร่วมกันหลังการสังเกตการจัดการเรียนรู้ของครู เพื่อสร้างความชัดเจนร่วมกัน โดยการตีความอย่างลุ่มลึกในสิ่งที่สังเกตของโค้ช จากการเก็บข้อมูลขณะสังเกตด้วยวิธีการที่หลากหลายทั้งแผนการจัดการเรียนรู้ กระบวนการจัดการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลการจัดการเรียนรู้ เพื่อปรับปรุง พัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ และการบริหารจัดการชั้นเรียนในครั้งต่อไป

4. ควรแต่งตั้งผู้ดูแลสื่อ เทคโนโลยีอย่างชัดเจน และมีการเช็คอุปกรณ์ให้สามารถใช้งานได้เป็นปกติอยู่เสมอ 

6. ตั้งงบประมาณส่วนหนึ่งไว้บำรุง ซ่อมแซม สื่อ อุปกรณ์ เทคโนโลยีให้พร้อมใช้งานและเพียงพอต่อความต้องการการใช้งานต่อนักเรียน

 

  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  
  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
1.2 การจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมืองให้มีความทันสมัยสอดรับกับวิถีใหม่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของท้องถิ่น และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง
  1) สภาพความก้าวหน้า
      สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมในการใช้ชีวิตประจำวันที่แสดงถึงความตระหนักและเห็นคุณค่าในประวัติศาสตร์ สังคม วัฒนธรรมของครอบครัว สถานศึกษาและชุมชน
      สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนใช้ชีวิตประจำวันร่วมกับผู้อื่นโดยรักษาสิทธิของตน เคารพสิทธิของผู้อื่น และรับผิดชอบตามบทบาทหน้าที่ของตนเอง และสิ่งแวดล้อม
      สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนกำกับตนเองในการใช้จ่ายของตนเอง และครอบครัว
      สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นใฝ่ทำความดี และอยู่ร่วมกับผู้อื่นด้วยดีบนหลักปฏิบัติของศาสนาที่นับถือ
      สถานศึกษาได้พัฒนาสื่อที่ทันสมัย สอดรับกับวิถีใหม่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน
      สถานศึกษามีการบูรณาการด้านการผลิตและการใช้สื่อการเรียนการสอนร่วมกับสถานศึกษาอื่น
      สถานศึกษาเปลี่ยนวิธีการสอนเป็น แนว Active learning และเสริมทักษะในการค้นคว้าหาความรู้กระแสหลัก กระแสรองในทางประวัติศาสตร์ให้เด็กสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
      สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนคิดเป็น วิจารณ์เนื้อหาได้ แลแสร้างองค์ความรู้ใหม่
      สถานศึกษาสามารถจัดการเรียนการสอนไม่ให้ผู้เรียนเบื่อที่จะเกิดการวิเคราะห์เรียนรู้ สิ่งรอบตัวแม้บางเนื้อหาที่ผู้เรียนเห็นในหนังสือเรียน ไม่ตรงกับความจริงที่เกิดขึ้น
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
  2) ปัญหาและอุปสรรค
     ด้านครูผู้สอน (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
           ครูขาดการพัฒนาเทคนิคและวิธีการจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับวิชาประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมืองให้น่าสนใจ
           ครูยังไม่มีความพร้อมในการนำเทคนิค วิธีการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบสื่อออนไลน์ หรือเทคโนโลยีมาประกอบการสอนวิชาประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมือง
           ครูขาดความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน Active Learning มาประยุกต์ใช้
           ครูผู้สอนมีภาระงานมาก
           อื่น ๆ (ถ้ามี) ระบุ
     ด้านการบริหารจัดการ (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
           ผู้บริหารสถานศึกษาไม่ให้ความสำคัญเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมืองให้มีความทันสมัย
           นโยบายขาดความต่อเนื่อง
           ขาดการมีส่วนร่วมระหว่างปราชญ์ชาวบ้าน ผู้ปกครอง สถานศึกษาและผู้เรียนในการสร้างการเรียนรู้เกี่ยวกับการสอนประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมืองให้มีความทันสมัย
           ผู้เรียนไม่ค่อยสนใจในการเรียนเกี่ยวกับวิชาประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมือง เพราะคิดว่าน่าเบื่อ ไม่ทันสมัย
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
     ด้านสื่อ วัสดุอุปกรณ์ (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
           บริเวณที่ตั้งของสถานศึกษาขาดแหล่งเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชุมชนท้องถิ่นที่น่าสนใจ
           ขาดสื่อ เทคโนโลยี วัสดุอุปกรณ์ที่ทันสมัยมาสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์วิถีใหม่
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
      อื่นๆ ระบุ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  

1. จัดอบรมครูและผู้บริหาร เพื่อส่งเสริมสนับสนุนครูให้มีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนรู้แบบ Active Leaning 

2. ครูกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา เข้ารับการอบรม 12 เดือน Webinar เปิดโลกนวัตกรรมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์วิถีใหม่ วิถีอนาคต เพื่อให้ครูมีความรู้ เทคนิค วิธีการในการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์แนวใหม่ เรียนอย่างสนุกสนานและได้ความรู้

3. ขอความร่วมมือกับคนในท้องถิ่น เพื่อเป็นวิทยากร ระหว่างปราชญ์ชาวบ้าน ผู้ปกครอง สถานศึกษาและผู้เรียนในการสร้างการเรียนรู้เกี่ยวกับการสอนประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมืองให้มีความทันสมัยมากขึ้น และไม่น่าเบื่อ โดยใช้ประวัติศาสตร์ท้องถิ่น และชุมชนในการกำหนดหน่วยการเรียนรู้ เพื่อให้ชุมชนหรือท้องถิ่นเป็นศูนย์กลางการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ในชุมชน ให้นักเรียน และคนในชุมชน ตระหนักเห็นความสำคัญ หวงแหน น่าศึกษา ค้นคว้าต่อไป

4. ทำ mou กับมหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้และขอความอนุเคราะห์วิทยากร เพื่อให้ความรู้นักเรียน ครู และบุคากรทางการศึกษา และสร้างนักเรียนแกนนำในการทำงานแบบเชิงรุก ด้านการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทยอย่างมีความหมาย สนุก น่าสนใจ

5. หาแหล่งเงินทุน สนับสนุนงบประมาณในการจัดซื้อสื่อการเรียนรู้ อุปกรณ์ที่เอื้อต่อการเรียนรู้ และงบประมาณในการซ่อมบำรุงเทคโนโลยีให้มีประสิทธิภาพในการใช้งาน เอื้อ และเพียงพอต่อจำนวนนักเรียน

  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  

 การศึกษาในยุคดิจิทัลได้นำเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้เป็นเครื่องมือที่สำคัญที่ช่วยในการจัดการเรียนการสอนการถ่ายทอดความรู้ไปสู่ผู้เรียน โดยสามารถเรียนรู้ได้แบบออนไลน์ (Online Learning) ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต นำไปทดลองใช้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ รายวิชาคณิตศาสตร์พื้นฐานระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 และชั้นมัธยศึกษาปีที่ 2 เน้นการใช้เทคโนโลยีดิจิทัล ควบคู่กับการใช้ใช้รูปแบบการเรียนรู้แบบโครงการ การจัดการเรียนรู้แบบ Problem–based Learning : PBL แบบ Brain Based Learning : BBL และการใช้เทคนิคแบบเพื่อนช่วยเพื่อน

  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
1.3 การพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภทให้มีสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล รวมทั้งการจัดการเรียนการสอน
  1) สภาพความก้าวหน้า
     (1) ครูได้รับการพัฒนาด้านสมรรถนะทางภาษาหรือไม่
           ได้รับการพัฒนา
           ไม่ได้รับการพัฒนา (ข้ามไปตอบข้อ (5)
     (2) ครูได้รับการพัฒนาด้านสมรรถนะทางภาษาโดยหน่วยงานใด
           สพฐ./สอศ./สช./กศน.
           สพป./สพม./ศธจ./กศจ.จังหวัด
           หน่วยงานภายนอก เช่น มหาวิทยาลัย
           อื่นๆ ระบุ
     (3) เมื่อได้รับการพัฒนาด้านสมรรถนะทางภาษา ได้นำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนหรือไม่
           ได้นำไปใช้ ระบุ
           ไม่ได้นำไปใช้
     (4) ครูมีการนำสมรรถนะด้านภาษาไปขยายผลให้กับครูใน/นอกสถานศึกษาหรือไม่อย่างไร
           มี ระบุ
           ไม่มี
     (5) ครูได้รับการพัฒนาด้านสมรรถนะทางด้านดิจิทัลหรือไม่
           ได้รับ
           ไม่ได้รับ (ข้ามไปตอบข้อ 2)
     (6) ครูได้รับการพัฒนาด้านสมรรถนะทางด้านดิจิทัลโดยหน่วยงานใด
           สพฐ./สอศ./สช./กศน.
           สพป./สพม./ศธจ./กศจ.จังหวัด
           หน่วยงานภายนอก เช่น มหาวิทยาลัย
           อื่นๆ ระบุ
     (7) ครูมีการนำสมรรถนะด้านดิจิทัลไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนหรือไม่อย่างไร
           มี ระบุ
           ไม่มี (ข้ามไปตอบข้อ 2)
     (8) ครูสามารถนำสมรรถนะด้านดิจิทัลไปขยายผลให้กับครูใน/นอกสถานศึกษาได้หรือไม่อย่างไร
           ได้ ระบุ
           ไม่ได้
  2) ปัญหาและอุปสรรค
     ด้านครูผู้สอน
           ครูขาดการพัฒนาสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล
           ครูขาดขวัญและกำลังใจ หรือแรงกระตุ้นพัฒนาสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล
           ครูมีภาระงานมาก
           อื่น ๆ (ถ้ามี) ระบุ
     ด้านการบริหารจัดการ
           นโยบายขาดความต่อเนื่อง
           ผู้บริหารไม่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัลของครูและบุคลากรทางการศึกษา
           ขาดงบประมาณสนับสนุน
           ขาดการนิเทศ ติดตาม
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
     ด้านสื่อ วัสดุอุปกรณ์
           ขาดสื่อ วัสดุอุปกรณ์ ที่นำมาใช้ในการพัฒนาสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล
           เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว อุปกรณ์ไม่ทันสมัย
           ขาดบุคลากรที่เชี่ยวชาญเฉพาะด้านการพัฒนาสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  

1. ควรลดภาระที่ไม่จำเป็นลง และให้ครูเน้นที่การสอน การเตรียมการสอน

2. สร้างขวัญและกำลังใจในการทำงานให้แก่ครู ครูที่เสียสละทำงานเพื่อผลประโยชน์สูงสุดของโรงเรียนและนักเรียนก็ควรที่จะให้ขวัญและกำลังใจคนทำงาน ไม่ควรเห็นแก่ผลประโยชน์ทับซ้อน

3. ควรมีการนิเทศ ติดตาม การทำงานของครูอย่างต่อเนื่อง 

4. ควรมีงบประมาณในการซ่อมแซมสื่อ และเทคโนโลยี มีการกำกับติดตามการดูแล ซ่อมแซมสื่อ เทคโนโลยีกับบุคลากรที่ดูแลอย่างจริงจังมากกว่านี้ พร้อมทั้งสรรหาสื่อที่มีประสิทธิภาพ และทันสมัย เอื้อต่อการเรียนรู้

  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  

1. โรงเรียนจัดการเรียนรู้โดยใช้เทคโนโลยีที่ได้รับจัดสรรจากบริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน) สนับสนุนสื่อเทคโนโลยีในการจัดการศึกษาตามโครงการสานอนาคตการศึกษา              (Connext ED) สนับสนุนโน้ตบุ๊กเพื่อการศึกษาตามโครงการโน้ตบุ๊กเพื่อการศึกษา ( Notebook for Educations ) และทีวีจำนวน 10 เครื่อง คอมพิวเตอร์ประจำห้องจำนาน 1 0 เครื่อง ตู้แดงออกอากาศ 1 ตู้ เพื่อใช้ในการจัดการเรียนรู้ใน 8 กลุ่มสาระวิชาหลัก และการสืบค้นข้อมูลของผู้เรียน

2. มีการเรียนรู้แบบเครือข่ายร่วมพัฒนา 1 + 3 ( ร.ร. บ้าน โคกสำราญ + ร.ร.บ้านป่าแดงแจ้งกระหนวน + ร.ร. บ้านดอนปอแดง + ร.ร. บ้านหนองหัวช้าง) ในโครงการยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางเรียนและยกระดับผลสัมฤทธิ์  (O-NET) โดยใช้เทคโนโลยีในการศึกษาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในปีการศึกษา 2563 เป็นต้นไป

3. นักเรียนสามารถนำโน๊ตบุ๊คกลับไปศึกษาค้นคว้า และเรียน Online ที่บ้านได้ โดยผุ้แกครองนักเรียนจะต้องทำ MOU กับโรงเรียนเพื่อเป็นสัญญา/หลักประดันในการเก็บรักษา และดูแลเครื่องให้คงสภาพพร้อมใช้งานได้ดีต่อไป

 

  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
1.4 หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (หลักเกณฑ์ PA)
  1) สภาพความก้าวหน้า
     (1) ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ ว.9 (PA) และวิธีการอยู่ในระดับใด
           มากที่สุด
           มาก
           ปานกลาง
           น้อย
           น้อยที่สุด
     (2) ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการชี้แจงหรือหาความรู้เกี่ยวกับหลักเกณฑ์ ว.9 (PA) จากแหล่งใด (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
           เว็ปไซต์ สำนักงาน ก.ค.ศ.
           หน่วยงานต้นสังกัดชี้แจง
                สพฐ. (สพป./สพม.)
                สอศ.
                กศน.
                สช.
           เพื่อนร่วมงาน
           สื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ
           เว็ปไซต์ อาทิ ครูบ้านนอกดอทคอม, ครูไทย, ครูวันดีดอทคอม, สถานนีครูดอทคอม
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
     (3) ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีข้อคิดเห็นอย่างไรเกี่ยวกับข้อตกลงในการพัฒนางานตามหลักเกณฑ์ ว.9 (PA)..... (ข้อความ)
     

เป็นการประเมินที่ยุ่งยากมาก บอกว่าไม่เน้นเอกสาร แต่เวลาส่งงานก็ต้องสแกนเอกสารส่งเหมือนเดิม และหน่วยงานที่ออกเกณฑ์ ว.9 (PA) ออกมาก็ไม่ได้ออกมาอบรมหรือให้ความกระจ่าง ให้ครู และต้นสังกัดคิดเอง บางที่ไปอบรมกับสถาบันที่จัดอบรมก็พูดแนวทางการปฏิบัติไม่เหมือนกัน ไม่รู้จะเชื่อใครดี  จึงทำให้เกิดความสับสนในการเตรียมเอกสาร และการปฏิบัติงาน เพื่อรอรับการประเมินที่ถูกต้อง

  2) ปัญหาและอุปสรรค
      ด้านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ระบุ
      ด้านการประเมินวิทยฐานะ ระบุ เพิ่มภาระการเตรียมเอกสาร มีการอัฟโหลดเอกสาร มีความยุ่งยากในการเตรียมเอกสาร
      ด้านการเปลี่ยนหลักเกณฑ์การประเมินบ่อย ทำให้มีความยุ่งยากในการเตรียมเอกสารหลักฐานรองรับการประเมิน ระบุ ต้องเตรียมอย่างอื่นอีกมากมายนอกจากเอกสาร เป็นภาระครูมาก
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
  3) หน่วยงาน/สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร จัดอบรมให้ความรู้ เพื่อจะได้มีความรู้ความเข้าใจในการเตรียมรับการประเมิน
  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับ หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (หลักเกณฑ์ PA) ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  
  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินการตามหลักเกณฑ์ ว.9 (PA) อยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
1.5 การขับเคลื่อนศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) และศูนย์บริหารเครือข่ายการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา (Center of Vocational Manpower Networking Management : CVM)
  1) สภาพความก้าวหน้า
     (1) สภาพความก้าวหน้า ความสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบาย (มีเกณฑ์ตัวชี้วัดการประเมิน หรือตัวเลือกประเด็นหรือกิจกรรมที่ปฏิบัติในนโยบายนี้ เพื่อประกอบความก้าวหน้าความสำเร็จ)
          กลุ่มทั่วไป (Standard) สาขาวิชา
          
          กลุ่มเชี่ยวชาญเฉพาะ (Expert) สาขาวิชา
          
          กลุ่มความเป็นเลิศ) (Excellent Center) สาขาวิชา
          
          กลุ่มศูนย์บริหารเครือข่ายการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา (Center of Vocational Manpower Networking Management : CVM) สาขาวิชา
          
     (2) สถานศึกษามีผลการประเมินคุณภาพตามแนวทางการขับเคลื่อนศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) และศูนย์บริหารเครือข่ายการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา (Center of Vocational Manpower Networking Management : CVM) อยู่ในระดับใด
           ดีมาก
           ดี
           ปานกลาง
           พอใช้
     (3) เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
           สถานศึกษามีนวัตกรรมการบริหารจัดการสอดคล้องกับสภาพบริบท และตอบสนองความต้องการของชุมชน สังคม และยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ
           มีครุภัณฑ์และอุปกรณ์ สื่อ เทคโนโลยีดิจิทัล ทรัพยากร สิ่งสนับสนุนการศึกษา ที่เพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอน
           สถานศึกษามีภาคีเครือข่ายความร่วมมือกับองค์กรทางวิชาชีพ สถานประกอบการ สถาบันการศึกษาอาชีวศึกษา/อุดมศึกษาทั้งในประเทศหรือต่างประเทศ ในการพัฒนาทักษะทางวิชาการ ทักษะอาชีพ และการฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพของครู และผู้เรียน
           หลักสูตรมีความสอดคล้องกับมาตรฐานอาชีพตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ เชื่อมโยงสมรรถนะอาชีพในการท างานสู่ระบบคุณวุฒิทางการศึกษา หรือมาตรฐานอาชีพตามที่หน่วยงานซึ่งมีหน้าที่ให้การรับรองมาตรฐานกำหนดไว้ ในสาขาวิชาที่มีความเป็นเลิศ
           ครูมีสมรรถนะทางวิชาชีพที่ทันสมัย สอดคล้องกับเทคโนโลยีที่สถานประกอบการใช้ในปัจจุบัน ตลอดจนมีทักษะการจัดกระบวนการจัดการเรียนรู้
           ผู้เรียนมีสมรรถนะทางวิชาชีพในสาขาวิชาที่มีความเป็นเลิศ ตรงกับความต้องการของสถานประกอบการ
           สถานศึกษาเป็นศูนย์พัฒนาอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการ การประเมินสมรรถนะบุคคลตามมาตรฐานอาชีพในสาขาอาชีพที่สอดคล้องกับสาขาวิชา ที่มีความเป็นเลิศ ให้กับผู้เรียน ผู้สำเร็จการศึกษา ผู้ประกอบอาชีพ หรือ ประชาชนทั่วไป เพื่อสร้างโอกาสการเข้าสู่โลกอาชีพและการมีงานทำ
           สถานศึกษามีระบบประกันคุณภาพที่เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา เหมาะสมกับหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน สื่อเทคโนโลยี ทรัพยากรการเรียนรู้ และการประเมินการเรียนการสอน โดยมีการกำกับ ติดตาม และประเมินผลเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      มาตรฐานอาชีพหรือมาตรฐานฝีมือแรงงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ไม่ครอบคลุมสาขาวิชา
      นโยบายขาดความต่อเนื่อง
      ครูผู้สอนมีวุฒิการศึกษาวิชาชีพ ไม่ตรงตามสาขาวิชาที่สอน
      ขาดห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ครุภัณฑ์/อุปกรณ์ สื่อ ในการจัดการเรียนการสอนที่ทันสมัย
      ผู้เรียนมีสมรรถนะไม่ตรงตามหลักสูตรกำหนด กับความต้องการของสถานประกอบการ
      สถานศึกษาขาดการเตรียมความพร้อมตามแนวทางการจัดการสถานศึกษา ภายใต้ศูนย์
      ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) และศูนย์บริหารเครือข่ายการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา (Center of Vocational Manpower Networking Management : CVM) ในการประเมินสมรรถนะผู้เรียนและการรับรองที่เอื้อต่อการพัฒนารายบุคคล
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  
  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  
  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
1.6 ความปลอดภัยของผู้เรียน โดยการสร้างสถานศึกษาปลอดภัย และบริหารจัดการเชิงบูรณาการในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  1) สภาพความก้าวหน้า
     1) ครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการส่งเสริม สนับสนุน ให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างภูมิคุ้มกัน พร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงและภัยคุกคามรูปแบบใหม่ ทุกรูปแบบ
           ครบทุกประเภทภัยคุกคาม
           บางประเภทภัยคุกคาม
                ภัยยาเสพติด
                ภัยความรุนแรง
                ภัยพิบัติต่างๆ
                อุบัติเหตุ
                โรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำ (เช่น CVID-19 เป็นต้น)
                ฝุ่น PM 2.5
                การค้ามนุษย์
                การคุกคามในชีวิตและทรัพย์สิน
                อาชญากรรมไซเบอร์
           ไม่มี
     2) การบริหารจัดการเชิงบูรณาการในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สถานศึกษาได้ดำเนินงานหรือได้รับความช่วยเหลือจากหน่วยงานใดบ้าง (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
           กระทรวงศึกษาธิการ
           กระทรวงสาธารณสุข
           กรมการปกครอง
           ภาคเอกชน
           อื่นๆ (ระบุ)
     3) สถานศึกษามีการบริหารจัดการเชิงบูรณาการในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) อย่างไรบ้าง
           มี
           ไม่มี
     4) สถานศึกษามีแผนการดำเนินงาน/แผนเผชิญเหตุ/แนวทาง/คู่มือเพื่อความปลอดภัยของผู้เรียนในสถานศึกษา
           มี
           ไม่มี
     5) ผู้เรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมที่สถานศึกษาจัดเพื่อส่งเสริม สนับสนุนในการสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม พร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงและภัยคุกคามรูปแบบใหม่ทุกรูปแบบ
           ครบทุกประเภทภัยคุกคาม
           บางประเภทภัยคุกคาม
                ภัยยาเสพติด
                ภัยความรุนแรง
                ภัยพิบัติต่างๆ
                อุบัติเหตุ
                โรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำ (เช่น CVID-19 เป็นต้น)
                ฝุ่น PM 2.5
                การค้ามนุษย์
                การคุกคามในชีวิตและทรัพย์สิน
                อาชญากรรมไซเบอร์
           ไม่มี
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      ผู้บริหารขาดความตระหนักในการสร้างความรู้ความเข้าใจกับการรับมือกับภัยคุกคามรูปแบบใหม่ให้กับผู้เรียน
      ครูขาดขวัญกำลังใจ การคุ้มครองดูแลช่วยเหลือในการปฏิบัติงานภายในสถานศึกษา
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ ขาดงบประมาณในการซื้อ ATK
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  

ควรกันเงินสำหรับไว้ซื้อ ATK ให้เพียงพอต่อการตรวจของนักเรียน

  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับความปลอดภัยของผู้เรียน โดยการสร้างสถานศึกษาปลอดภัยของสถานศึกษาท่าน ที่คิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  

ขับเคลื่อนความปลอดภัยในสถานศึกษาด้วยหลัก ป. ได้แก่ ป้องกัน” ความเสี่ยงที่มีแนวโน้มจะเกิดขึ้น ไม่ว่าจะเป็นความเสี่ยงต่อตัวบุคคล หรือต่ออาคารสถานที่ ปลูกฝัง” ให้ผู้เรียนมีทักษะ รู้วิธีเอาตัวรอด ดูแลตนเองจากภัยอันตรายต่าง ๆ ท่ามกลางสภาพแวดล้อมทางสังคม สอนวิชาชีวิต ที่สำคัญ ไม่น้อยกว่าการสอนวิชาการ และ ปราบปราม” การกระทำผิดอย่างจริงจัง เน้นเยียวยาแก่ผู้เสียหายเป็นสำคัญ โดยโรงเรียนได้มีการปรับปรุง และพัฒนาระบบความปลอดภัย มีการวางมาตรฐานความปลอดภัยในโรงเรียน เพื่อให้ผู้เรียน ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความปลอดภัยในขณะทำการเรียนการสอน

 

  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
2. ด้านการสร้างโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียมกันทางสังคม
2.1 การค้นหาเด็กวัยเรียนหลุดจากระบบการศึกษา และติดตามให้ความช่วยเหลือเข้าสู่ระบบการศึกษา
  1) สภาพความก้าวหน้า
      สถานศึกษามีการค้นพบเด็กวัยเรียนที่หลุดจากระบบการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน..............คน (ตัวเลข) 3
      การติดตามให้ความช่วยเหลือเข้าสู่ระบบการศึกษา สำหรับเด็กที่อยู่ในการศึกษาภาคบังคับ จำนวน ................คน (ตัวเลข) 2
          กศน. จำนวน................คน (ตัวเลข) 1
          อาชีวศึกษา จำนวน ...........คน (ตัวเลข)
      การติดตามให้ความช่วยเหลือผู้เรียนเข้าสู่ระบบการศึกษา สำหรับเด็กที่อายุเกิน 15 ปี จำนวน.............คน (ตัวเลข) 1
          กศน. จำนวน................คน (ตัวเลข) 1
          อาชีวศึกษา จำนวน ...........คน (ตัวเลข)
          เข้าทำงานสถานประกอบการ จำนวน...............คน (ตัวเลข)
          ประกอบอาชีพอื่นๆ จำนวน ................คน (ตัวเลข)
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      ด้านเศรษฐกิจ รายได้ของครอบครัว
      การย้ายถิ่นฐานตามผู้ปกครอง
      ความไม่พร้อมของผู้เรียน ด้านสติปัญญา ร่างกาย ฯลฯ
      ปัญหาของครอบครัว (หย่าร้าง /แยกกันอยู่)
      การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)
      อื่นๆ (ถ้ามี)
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  

1. กำกับ ติดตาม เยี่ยมบ้าน เพื่อคุยกับผู้ปกครองและติดตามการย้ายของนักเรียนไปยังสถานศึกษาอื่น ที่ย้ายถิ่นฐานตามผู้ปกครอง 

2. สร้างความรู้ ความเข้าใจให้กับผู้ปกครอง และนักเรียนให้มีความตระหนักในการเรียน และการศึกษาต่อ โดยการติดตามนักเรียนเรียนต่อในระบบ กศน. 

  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  
  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
2.2 การดูแลเด็กปฐมวัย ด้วยการส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้พัฒนาการสมวัย ได้รับโอกาสทางการศึกษาทั้งในและนอกระบบการศึกษา
  1) สภาพความก้าวหน้า
     (1) ผู้เรียนในระดับปฐมวัย (อนุบาล 3) ปีการศึกษา 2564 ทั้งหมด
          จำนวน.............คน (ตัวเลข) จำแนกเป็น 32
          ผู้เรียนปกติ จำนวน..........คน (ตัวเลข) 31
          ผู้เรียนที่มีความบกพร่อง จำนวน.............คน (ตัวเลข) 1
     (2) ผู้เรียนปกติ มีผลการประเมินพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา ผ่านเกณฑ์การประเมินพัฒนาการคุณภาพระดับ 3 ทั้ง 4 ด้าน
          จำนวน..............คน (ตัวเลข) 28
          คิดเป็นร้อยละ........... (เทียบจากผู้เรียนปกติ) (ตัวเลข) 87.50
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      ขาดแคลนครูวิชาเอกปฐมวัย
      ครูผู้สอนระดับปฐมวัยสอนไม่ตรงวิชาเอก
      ครูไม่ครบชั้น (ครู 1 คน สอน 2 ระดับชั้น)
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  

- มีการกำหนดอัตรากำลังครูสอนปฐมวัยในปีการศึกษา 2565 จำนวน 2 คน

 

  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการค้นหาเด็กวัยเรียนหลุดจากระบบการศึกษา และติดตามให้ความช่วยเหลือเข้าสู่ระบบการศึกษาของสถานศึกษาท่าน ที่คิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  
  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
2.3 การสร้างโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพสำหรับคนพิการ และผู้ด้อยโอกาสและผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทั้งในและนอกระบบการศึกษา
  1) สภาพความก้าวหน้า
      ผู้เรียนที่เป็นผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาสและผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทั้งในและนอกระบบการศึกษา เข้าถึงบริการการศึกษา
      ผู้เรียนที่เป็นผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาสและผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทั้งในและนอกระบบการศึกษา ได้รับการพัฒนาสมรรถภาพหรือบริการทางการศึกษาที่เหมาะสมตามความจำเป็น โปรดระบุรายละเอียด      
      สถานศึกษามีการจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program : IEP) สำหรับเด็กพิการเรียนรวม (9 ประเภท) และผ่านเกณฑ์การประเมินระบบการจัดการศึกษา
      สถานศึกษามีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนและบริหารจัดการสถานศึกษาที่มีประสิทธิภาพ สามารถลดจำนวนเด็กด้อยโอกาส โดยให้เด็กทุกคนสามารถเข้าถึงและส่งเสริมเด็กด้อยโอกาสให้ได้รับการศึกษาเต็มตามศักยภาพ
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      สถานศึกษา/ผู้รับผิดชอบงานการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการและผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ขาดความเชี่ยวชาญ ความชำนาญเฉพาะด้าน
      ผู้ปกครองบางส่วนขาดความรู้ ความเข้าใจและมีเจตคติที่ไม่ดีต่อความบกพร่องของเด็กและการส่งเด็กเข้ารับการพัฒนาในสถานศึกษา
      การพัฒนาและส่งเสริมผู้เรียน เป็นไปได้ยาก เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื่อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  

สร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับผู้ปกครองอย่างถูกต้อง ให้ผู้ปกครองเปิดใจยอมรับในสิ่งที่ลูกเป็น และพยายามให้ความรู้ การดูแล เอาใจใส่บุตรหลาน รวมทั้งมีการคัดกรองนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเรียนรู้ โดยครูที่ผ่านการอบรมและมีใบอนุญาตในการคัดกรอง ส่วนนักเรียนที่มีอาการหนัก ก็ส่งต่อไปยังแพทย์ให้คัดกรองต่อไป เพื่อรับการรักษาที่ถูกต้อง

  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการสร้างโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพสำหรับคนพิการและผู้ด้อยโอกาสและผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทั้งในและนอกระบบการศึกษาของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  
  5) ท่านมีความพึงพอใจอยู่ในระดับใดของการดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนปฐมวัย
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
3. ด้านความร่วมมือ
3.1 การจัดการศึกษาแบบทวิภาคีสู่คุณภาพมาตรฐาน ผ่านศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่
  1) สภาพความก้าวหน้า
     ตามแนวทางปฏิบัติจัดการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
          ความร่วมมือกับสถานประกอบการ
                ไม่มีความร่วมมือ
                มีความร่วมมือ
                     ในพื้นที่บริการ
                     นอกพื้นที่บริการ/นอกจังหวัด
                     ต่างประเทศ
          ความร่วมมือกับสถานประกอบการในการจัดการศึกษาระบบทวิภาคี
                ไม่มีความร่วมมือ
                มีความร่วมมือกับสถานประกอบการอย่างเข้มข้น
                     การพัฒนาหลักสูตร
                     การพัฒนาครู
                     การพัฒนานักเรียนนักศึกษา
                     การสนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา
     (1) ด้านคุณภาพหลักสูตร
          (1.1) ด้านการพัฒนาหลักสูตรรายวิชา ระดับคุณภาพในการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะรายวิชาที่สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการ อยู่ในระดับใด
                ดีมาก
                ดี
                ปานกลาง
                ปรับปรุง
          (1.2) ด้านการบริหารจัดการหลักสูตร ระดับคุณภาพในการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง อยู่ในระดับใด
                ดีมาก
                ดี
                ปานกลาง
                ปรับปรุง
          (1.3) ด้านทรัพยากรการจัดอาชีวศึกษา ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และพื้นที่ อยู่ในระดับใด
                ดีมาก
                ดี
                ปานกลาง
                ปรับปรุง
          (1.4) ด้านคุณภาพผู้สำเร็จการศึกษา ผ่านเกณฑ์การทดสอบมาตรฐานวิชาชีพของสถานศึกษาและหน่วยงานภายนอก อยู่ในระดับใด
                ดีมาก
                ดี
                ปานกลาง
                ปรับปรุง
          (1.5) ด้านคุณภาพผู้สำเร็จการศึกษา ระบบทวิภาคีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระ อยู่ในระดับใด
                ดีมาก
                ดี
                ปานกลาง
                ปรับปรุง
     (2) ด้านคุณภาพผู้สำเร็จการศึกษา
          (2.1) ด้านทักษะและความสามารถในการปฏิบัติงาน ผู้เรียนชั้นปีสุดท้ายที่มีคุณลักษณะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพ (VQ) อยู่ในระดับใด
                ดีมาก
                ดี
                ปานกลาง
                ปรับปรุง
          (2.2) ด้านทักษะและความสามารถในการปฏิบัติงาน ผู้เรียนผ่านการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง อยู่ในระดับใด
                ดีมาก
                ดี
                ปานกลาง
                ปรับปรุง
          (2.3) ด้านความพึงพอใจของสถานประกอบการที่มีต่อคุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษา อยู่ในระดับใด
                ดีมาก
                ดี
                ปานกลาง
                ปรับปรุง
  2) ปัญหาและอุปสรรค
     ด้านครูผู้สอน
           ครูไม่เข้าใจการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
           ครูขาดขวัญและกำลังใจ การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
           อื่น ๆ (ถ้ามี) ........................................ (ข้อความ)
     ด้านการบริหารจัดการ
           สถานศึกษามีการปรับเปลี่ยนผู้บริหารบ่อย ทำให้ขาดความต่อเนื่อง
           ผู้เรียน และผู้ปกครองไม่เข้าใจการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
           สถานประกอบการมีข้อจำกัดในการรับผู้เรียนเข้ารับการฝึกวิชาชีพ
           อื่นๆ (ถ้ามี)............................................... (ข้อความ)
     ด้านผู้เรียน
           ผู้เรียนขาดทักษะ Sft Skill
           ผู้เรียนไม่ปรับตัวเข้ากับสถานประกอบการ
           ผู้เรียนเลือกฝึกวิชาชีพใกล้บ้าน ซึ่งไม่ตรงกับสาขาวิชาที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด
           ค่าใช้จ่ายในการฝึกวิชาชีพ
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
      อื่นๆ ระบุ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  

1. หน่วยงานอาชีวะและโรงเรียนจะต้องมาร่วมพุดคุยกัน เพื่อทำความเข้าใจรายละเอียด แนวปฏิบัติ และกรอบแนวทางของการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี จะได้มีความเข้าใจที่ตรงกัน

2. สถานประกอบการบางที่ก็จะคัดนักเรียน และไม่ค่อยเปิดโอกาสให้นักเรียนได้ไปฝึกงานในสถานที่ใหญ่ และมองว่าเป็นการเสียเวลา หรืออาจจะทำความเสียหายให้สถานประกอบการ วิธีการแก้ปัญหาก็เลือกสถานประกอบการที่ให้โอกาสแก่นักเรียน

3. บางทีการฝึกงานนักเรียนอาจจะเลือกฝึกในงานที่ไม่เกี่ยวกับอาชีพของตนเอง เนื่องด้วยข้อจำกัดหลายอย่าง ทั้งค่าใช้จ่ายเรื่องการเดินทาง ที่พัก ค่าอาหาร และความไม่สะดวกในการเดินทาง ภาระต่าง ๆ การแก้ปัญหา คือ ศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีจะต้องรับเรื่อง และทำการแก้ปัญหาต่อไป


  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีสู่คุณภาพมาตรฐาน ผ่านศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่ของสถานศึกษาท่าน ที่คิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  
  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
3.2 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทุกช่วงวัย โดยการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย และสร้างการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อการพัฒนาทักษะอาชีพ โดยการเพิ่มพูนทักษะ (Re-skill) พัฒนาทักษะ (Up skill) และการเรียนรู้ทักษะใหม่ (New skills)
  1) สภาพความก้าวหน้า
     ด้านหลักสูตร
           หลักสูตรเพื่อการพัฒนาอาชีพ Re-skill/Up-Skill/New skills
               จำนวน.................หลักสูตร (ตัวเลข) 1
               จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนา .....................คน (ตัวเลข) 3
           หลักสูตรกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม
               จำนวน.................หลักสูตร (ตัวเลข) 1
               จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนา .....................คน (ตัวเลข) 80
           หลักสูตรกลุ่มอาชีพความคิดสร้างสรรค์
               จำนวน.................หลักสูตร (ตัวเลข)
               จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนา .....................คน (ตัวเลข)
           หลักสูตรกลุ่มอาชีพอุตสาหกรรม
               จำนวน.................หลักสูตร (ตัวเลข)
               จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนา .....................คน (ตัวเลข)
           หลักสูตรกลุ่มอาชีพเฉพาะทาง
               จำนวน.................หลักสูตร (ตัวเลข) 1
               จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนา .....................คน (ตัวเลข) 60
           อื่นๆ ระบุ
               จำนวน.................หลักสูตร (ตัวเลข)
               จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนา .....................คน (ตัวเลข)
     ด้านกระบวนการพัฒนา
           แบบอบรม/สัมมนา แบบรวมกลุ่ม มีวิทยากรบรรยาย
           แบบสื่อออนไลน์ ผ่านระบบ Zm หรือแอพพลิเคชั่นต่างๆ
           แบบเรียนรู้ด้วยตัวเอง
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      ระยะเวลาในการพัฒนาไม่สัมพันธ์กับงบประมาณที่จัดสรร
      นโยบายขาดความต่อเนื่อง
      ขาดการมีส่วนร่วม
      ขาดบุคลากรที่มีความชำนาญเฉพาะด้านในแต่ละหลักสูตร
      วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือในการพัฒนาไม่เพียงพอ และไม่ทันสมัย
      รูปแบบการพัฒนายังยึดติดกับเนื้อหามากกว่าทักษะกระบวนการ
      อื่นๆ ระบุ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  

1. การดำเนินการขาดความต่อเนื่อง ทำให้ภาระงานที่ได้รับ หรือการพัฒนางานไม่มีประสิทธิภาพ ควรมีการติดตาม และอบรม เป็นระยะ เพื่อสร้างความเข้าใจ แรงกระตุ้น ให้นโยบาย หรือภาระงานมีความชัดเจน และเกิดประสิทธิภาพในงานมากขึ้น สามารถเผยแพร่และเป็นต้นแบบได้

2. การมีส่วนร่วมยังไม่เต็มที่ ผู้บริหารควรมีคำสั่งผู้รับผิดชอบอย่างชัดเจน และติดตาม นิเทศการทำงาน การมีส่วนร่วมอย่างใกล้ชิด

 

  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่านที่คิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี)** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  
  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
4. ด้านเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
4.1 การนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วมและการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน
  1) สภาพความก้าวหน้า
     (1) การนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน
          (1.1) การนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษา
                สถานศึกษามีการจัดทำ/นำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษา ทุกระดับการศึกษา ระบุ ช้ทีวี/ความพิวเตอร์/และโน๊ตบุ๊คในการจัดการศึกษาทุกระดับ
                ครูได้รับการพัฒนาการจัดทำสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยและนำมาปรับใช้ในการเรียนการสอน
                สถานศึกษามีการส่งเสริม สนับสนุน โดยการจัดการเรียนการสอน/กิจกรรม เพื่อให้ผู้เรียนได้รับ การส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน
     (2) รูปแบบการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษาภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
           On-Site (การจัดการเรียนการสอนตามปกติ)
           On Air (การเรียนการสอนผ่านทีวี/ผ่านระบบดาวเทียม/ระบบเคเบิลทีวี/ระบบ IPTV/ระบบ Zoom)
           Online (การเรียนการสอนผ่านอินเตอร์เน็ต)
           On Hand (การจัดการเรียนการสอนโดยนำหนังสือ แบบฝึกหัด ใบงาน ไปเรียนรู้ที่บ้านภายใต้ความช่วยเหลือของผู้ปกครอง)
           On-Demand (การเรียนการสอนผ่านเว็บไซต์ DLTV ช่อง Youtube และแอพลิเคชัน DLTV บนสมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ต และอื่นๆ)
           รูปแบบผสมผสาน ระบุ
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      ครูขาดการพัฒนาในการจัดทำสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยและนำมาปรับใช้ในการเรียนการสอน
      ครูไม่มีความชำนาญในการใช้สื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัย
      ผู้เรียนขาดแคลนอุปกรณ์และการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต สำหรับการเรียนการสอน
      ผู้เรียนขาดการมีส่วนร่วมในการเรียน
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  

1. จัดอบรมให้ความรู้แก่ครูและบุคลกรทางการศึกษา เกี่ยวกับการใช้สื่อ เทคโนโลยี ในการจัดการเรียนรู้ เพื่อให้ครูมีความรู้ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ โดยใช้สื่อ และเทคโนโลยี ที่ทันสมัย น่าสนใจ จัดการเรียนรู้อย่างสนุกสนาน และเป็นแบบ Active Learning

2. ดูแลให้ความช่วยเหลือผู้เรียน โดยการไปเยี่ยมบ้านทุกอาทิตย์ และแก้ปัญหานักเรียนที่มีปัญหาไม่เข้าเรียน ไม่ส่งงาน เรียนไม่เข้าใจ โดยการไปสอนเสริมเพิ่มเติมที่บ้าน และนัดผู้เรียนมาเรียนที่โรงเรียนในเวลาว่าง ตลอดจนอัดคลิปวีดิโอสั้น ๆ ให้นักเรียนดูเพิ่มเติม  ปรับเปลี่ยนวิธีการวัดและประเมินผลแบบยืดหยุ่นเน้นการจัดการเรียนรู้แบบบูรณาการกับ 5 สาระวิชา ได้แก่ วิชาภาษาไทย วิชาคณิตศาสตร์ วิชาวิทยาศาสตร์ วิชาสังคมศึกษาฯ และภาษาอังกฤษ เน้นที่การปฏิบัติที่บูรณาการในชีวิตประจำวัน ปรับปรุงกิจกรรมการเรียนรู้ให้น่าสนใจมากขึ้น ใช้สื่อ เทคโนโลยีที่ทันสมัย ให้สนุก และเป็นแรงจูงใจให้กับผู้เรียนมากขึ้น

  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  

จัดการเรียนรู้ทุกระดับการศึกษาโดยใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้ เช่น โน๊ตบุ๊ค และคอมพิวเตอร์ ผ่านอินเตอร์เน็ตความเร็วสูง

  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
Connect Error (1049) Unknown database 'db_sp_onet'