นโยบายที่ 3 การสร้างโอกาส ความเสมอภาค และความเท่าเทียมทางการศึกษาทุกช่วงวัย
3.1 การส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการเพื่อป้องกันเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคัน
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ตารางที่ 1 จำนวนและร้อยละของสถานศึกษาทั้งหมดและสถานศึกษาที่ให้ข้อมูล
สังกัด | จำนวนของสถานศึกษาที่ให้ข้อมูล(แห่ง) | ร้อยละ |
---|---|---|
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา (สพป.) | 10,075 | 76.70 |
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา (สพม.) | 1,090 | 8.30 |
สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ (สศศ.) | 59 | 0.45 |
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) | 337 | 2.57 |
กรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) | 573 | 4.36 |
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) | 1,030 | 7.84 |
รวม |
13,135 |
100.22 |
3.1 การส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการเพื่อป้องกันเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคัน
ส่วนที่ 2 สภาพการดำเนินงานตามนโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
ตารางที่ 2 ระดับการปฏิบัติตามจุดเน้นการส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการเพื่อป้องกันเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคัน
ที่ | รายการ | ระดับการปฏิบัติ | ค่าเฉลี่ย | ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน |
แปลผล | ||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
5 | 4 | 3 | 2 | 1 | |||||
1 | สถานศึกษามีการดำเนินงานตามแนวทาง/มาตรการป้องกันเด็กตกหล่น เด็กออกกลางคันและเด็กหลุดออกจากระบบ |
9,144 ( 69.62%) |
3,664 ( 27.89%) |
351 ( 2.67%) |
27 ( 0.21%) |
28 ( 0.21%) |
4.65 | 0.60 | มากที่สุด |
2 | สถานศึกษามีการพัฒนาระบบข้อมูลสารสนเทศของผู้เรียนเป็นรายบุคคลเป็นฐานข้อมูลในการป้องกันเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคันและการปรับปรุงจัดทำฐานข้อมูลให้เป็นปัจจุบัน |
8,775 ( 66.81%) |
3,913 ( 29.79%) |
468 ( 3.56%) |
31 ( 0.24%) |
27 ( 0.21%) |
4.62 | 0.57 | มากที่สุด |
3 | สถานศึกษามีการบูรณาการและเชื่อมโยงข้อมูลกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เพื่อดูแลและป้องกันไม่ให้ผู้เรียนออกจากระบบการศึกษา |
7,932 ( 60.39%) |
4,606 ( 35.07%) |
613 ( 4.67%) |
37 ( 0.28%) |
26 ( 0.20%) |
4.54 | 0.63 | มากที่สุด |
4 | สถานศึกษามีการใช้ระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนเพื่อดูแลและป้องกันไม่ให้ผู้เรียนออกจากระบบการศึกษา |
9,528 ( 72.54%) |
3,318 ( 25.26%) |
327 ( 2.49%) |
19 ( 0.14%) |
22 ( 0.17%) |
4.69 | 0.53 | มากที่สุด |
5 | สถานศึกษามีการดำเนินการในการส่งต่อ ติดตาม และค้นหา เพื่อช่วยเหลือเด็กตกหล่นและเด็กออกกลางคันให้กลับเข้าสู่ระบบการศึกษา |
8,776 ( 66.81%) |
3,934 ( 29.95%) |
446 ( 3.40%) |
28 ( 0.21%) |
30 ( 0.23%) |
4.62 | 0.58 | มากที่สุด |
6 | สถานศึกษามีการกำหนดแนวทางและกระบวนการส่งต่อนักเรียนให้ได้รับการศึกษาในระดับที่สูงขึ้นหรือมีทักษะอาชีพดำรงชีวิต |
8,798 ( 66.98%) |
3,970 ( 30.22%) |
395 ( 3.01%) |
26 ( 0.20%) |
25 ( 0.19%) |
4.63 | 0.54 | มากที่สุด |
3.2 การส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาการสมวัยอย่างมีคุณภาพ
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ตารางที่ 1 จำนวนและร้อยละของสถานศึกษาทั้งหมดและสถานศึกษาที่ให้ข้อมูล
สังกัด | จำนวนของสถานศึกษาที่ให้ข้อมูล(แห่ง) | ร้อยละ |
---|---|---|
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา (สพป.) | 10,075 | 90.47 |
สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ (สศศ.) | 59 | 0.53 |
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) | 1,030 | 9.25 |
รวม |
11,136 |
99.75 |
3.2 การส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาการสมวัยอย่างมีคุณภาพ
ส่วนที่ 2 สภาพการดำเนินงานตามนโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
ตารางที่ 2
ระดับการปฏิบัติตามจุดเน้นการส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาการสมวัยอย่างมีคุณภาพ
ที่ | รายการ | ระดับการปฏิบัติ | ค่าเฉลี่ย | ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน |
แปลผล | ||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
5 | 4 | 3 | 2 | 1 | |||||
1 | ครูผู้สอน ผู้บริหาร ศึกษานิเทศก์ และผู้ปกครอง ได้รับการพัฒนาองค์ความรู้ ในการส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาอย่างสมวัย |
7,526 ( 67.58 %) |
3,140 ( 28.20 %) |
284 ( 2.55 %) |
15 ( 0.13 %) |
155 ( 1.39 %) |
4.61 | 0.66 | มากที่สุด |
2 | สถานศึกษามีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม เพื่อดำเนินการจัดการศึกษาปฐมวัยอย่างมีคุณภาพ |
8,397 ( 75.40 %) |
2,365 ( 21.24 %) |
195 ( 1.75 %) |
8 ( 0.07 %) |
155 ( 1.39 %) |
4.69 | 0.68 | มากที่สุด |
3 | สถานศึกษามีการขับเคลื่อนและดำเนินการตามแผนงาน/โครงการ/กิจกรรม เพื่อดำเนินการจัดการศึกษาปฐมวัยอย่างมีคุณภาพ |
8,033 ( 72.14 %) |
2,698 ( 24.23 %) |
224 ( 2.01 %) |
9 ( 0.08 %) |
156 ( 1.40 %) |
4.66 | 0.65 | มากที่สุด |
4 | สถานศึกษานำข้อมูลการประเมินพัฒนาการนักเรียนปฐมวัยทั้ง 4 ด้าน มาวางแผนการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ของเด็กเป็นรายบุคคล กลุ่มย่อย และ/หรือกลุ่มใหญ่ |
7,557 ( 67.86 %) |
3,106 ( 27.89 %) |
286 ( 2.57 %) |
14 ( 0.13 %) |
157 ( 1.41 %) |
4.61 | 0.68 | มากที่สุด |
5 | สถานศึกษานำนวัตกรรมการศึกษาปฐมวัยมาใช้ในการพัฒนาตามบริบท |
6,474 ( 58.14 %) |
3,989 ( 35.82 %) |
482 ( 4.33 %) |
19 ( 0.17 %) |
156 ( 1.40 %) |
4.49 | 0.74 | มาก |
6 | สถานศึกษามีการนิเทศ กำกับ ติดตาม การดำเนินการจัดการศึกษาปฐมวัยอย่างมีคุณภาพ |
7,676 ( 68.93 %) |
3,023 ( 27.15 %) |
253 ( 2.27 %) |
11 ( 0.10 %) |
157 ( 1.41 %) |
4.62 | 0.70 | มากที่สุด |
3.2 การส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้รับการพัฒนาการสมวัยอย่างมีคุณภาพ
ส่วนที่ 2 สภาพการดำเนินงานตามนโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
ตารางที่ 3 แสดงปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ | จำนวน (แห่ง) | ร้อยละ |
---|---|---|
ขาดแคลนครูวิชาเอกปฐมวัย | 2,650 | 23.80 |
ครูผู้สอนระดับปฐมวัยสอนไม่ตรงวิชาเอก | 1,971 | 17.70 |
ครูไม่ครบชั้น (ครู 1 คน สอน 2 ระดับชั้น) | 3,248 | 29.17 |
อื่นๆ ระบุ | 597 | 5.36 |
3.3 การส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายพิเศษ และกลุ่มเปราะบาง รวมทั้งกลุ่ม NEETs ได้รับการศึกษาที่เหมาะสม ตามความจำเป็นตามศักยภาพ
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ตารางที่ 1 จำนวนและร้อยละของสถานศึกษาทั้งหมดและสถานศึกษาที่ให้ข้อมูล
สังกัด | จำนวนของสถานศึกษาที่ให้ข้อมูล(แห่ง) | ร้อยละ |
---|---|---|
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา (สพป.) | 10,075 | 76.70 |
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา (สพม.) | 1,090 | 8.30 |
สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ (สศศ.) | 59 | 0.45 |
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) | 337 | 2.57 |
กรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) | 573 | 4.36 |
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) | 1,030 | 7.84 |
รวม |
13,135 |
99.78 |
3.3
การส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายพิเศษ และกลุ่มเปราะบาง รวมทั้งกลุ่ม NEETs
ได้รับการศึกษาที่เหมาะสม ตามความจำเป็นตามศักยภาพ
ส่วนที่ 2 สภาพการดำเนินงานตามนโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
ตารางที่ 2 ระดับการปฏิบัติตามจุดเน้นการส่งเสริมสนับสนุนให้ผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายพิเศษ และกลุ่มเปราะบาง รวมทั้งกลุ่ม NEETs ได้รับการศึกษาที่เหมาะสม ตามความจำเป็นตามศักยภาพ
ที่ | รายการ | ระดับการปฏิบัติ | ค่าเฉลี่ย | ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน |
แปลผล | ||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
5 | 4 | 3 | 2 | 1 | |||||
1 | สถานศึกษามีแนวทางในการส่งเสริมเด็กพิการและเด็กด้อยโอกาส ให้ได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพ |
6,664 ( 50.73%) |
5,010 ( 38.14%) |
1,130 ( 8.60%) |
132 ( 1.00%) |
278 ( 2.12%) |
4.34 | 0.82 | มาก |
2 | สถานศึกษามีการดำเนินการที่ส่งเสริมเด็กพิการและเด็กด้อยโอกาส ให้มีทักษะชีวิต ทักษะวิชาการ และทักษะวิชาชีพ สอดคล้องกับความจำเป็นและพึ่งพาตัวเองได้ |
6,191 ( 47.13%) |
5,330 ( 40.58%) |
1,258 ( 9.58%) |
146 ( 1.11%) |
289 ( 2.20%) |
4.29 | 0.83 | มาก |
3 | สถานศึกษามีการส่งเสริมสนับสนุนการจัดการศึกษาแบบเรียนรวมให้มีคุณภาพ |
6,947 ( 52.89%) |
4,811 ( 36.63%) |
1,063 ( 8.09%) |
120 ( 0.91%) |
273 ( 2.08%) |
4.37 | 0.81 | มาก |
4 | สถานศึกษามีการบูรณาการการทำงานร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในการจัดการศึกษาให้กับผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายพิเศษ และกลุ่มเปราะบาง รวมทั้งกลุ่ม NEETs |
4,234 ( 32.23%) |
5,894 ( 44.87%) |
2,357 ( 17.94%) |
316 ( 2.41%) |
413 ( 3.14%) |
4.00 | 0.94 | มาก |
5 | สถานศึกษามีการจัดการศึกษาทางเลือกและการศึกษาตลอดชีวิตที่หลากหลายให้กับผู้เรียนกลุ่มเป้าหมายพิเศษ และกลุ่มเปราะบาง |
4,381 ( 33.35%) |
5,582 ( 42.50%) |
2,412 ( 18.36%) |
380 ( 2.89%) |
459 ( 3.49%) |
3.99 | 0.96 | มาก |
6 | สถานศึกษามีการพัฒนาเด็กพิการ หรือประสาทสัมผัสส่วนที่เหลือได้อย่างมีประสิทธิภาพ |
4,136 ( 31.49%) |
5,514 ( 41.98%) |
2,559 ( 19.48%) |
414 ( 3.15%) |
591 ( 4.50%) |
3.92 | 1.02 | มาก |
3.4 การจัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อให้ทุกกลุ่มเข้าถึงการศึกษา การเรียนรู้ และการฝึกอาชีพ
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ตารางที่ 1 จำนวนและร้อยละของสถานศึกษาทั้งหมดและสถานศึกษาที่ให้ข้อมูล
สังกัด | จำนวนของสถานศึกษาที่ให้ข้อมูล(แห่ง) | ร้อยละ |
---|---|---|
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา (สพป.) | 10,075 | 76.70 |
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา (สพม.) | 1,090 | 8.30 |
สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ (สศศ.) | 59 | 0.45 |
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) | 337 | 2.57 |
กรมส่งเสริมการเรียนรู้ (สกร.) | 573 | 4.36 |
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) | 1,030 | 7.84 |
รวม |
13,135 |
99.78 |
3.4 การจัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลาย เพื่อให้ทุกกลุ่มเข้าถึงการศึกษา การเรียนรู้ และการฝึกอาชีพ
ส่วนที่ 2 สภาพการดำเนินงานตามนโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
ตารางที่ 2 ระดับการปฏิบัติตามจุดเน้นการจัดการศึกษาในรูปแบบที่หลากหลายเพื่อให้ทุกกลุ่มเข้าถึงการศึกษา การเรียนรู้ และการฝึกอาชีพ
ที่ | รายการ | ระดับการปฏิบัติ | ค่าเฉลี่ย | ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน |
แปลผล | ||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
5 | 4 | 3 | 2 | 1 | |||||
1 | สถานศึกษามีความพร้อมที่สามารถออกแบบหลักสูตรที่เหมาะสมกับความต้องการและบริบท |
7,089 ( 53.97%) |
5,190 ( 39.51%) |
848 ( 6.46%) |
60 ( 0.46%) |
27 ( 0.21%) |
4.46 | 0.63 | มาก |
2 | ผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มีสรรถนะสำหรับการศึกษาต่อ และการประกอบอาชีพสำหรับครอบครัวและพื้นที่ |
6,973 ( 53.09%) |
5,449 ( 41.48%) |
722 ( 5.50%) |
43 ( 0.33%) |
27 ( 0.21%) |
4.46 | 0.64 | มาก |
3 | สถานศึกษามีการสนับสนุนให้มีเทคโนโลยีดิจิทัลหรือนวัตกรรม เพื่อสร้างโอกาสทางการศึกษาให้ผู้เรียนทุกคน |
6,524 ( 49.67%) |
5,438 ( 41.40%) |
1,124 ( 8.56%) |
93 ( 0.71%) |
35 ( 0.27%) |
4.39 | 0.67 | มาก |
4 | สถานศึกษามีการจัดการศึกษาให้ผู้เรียนที่มีความสามารถพิเศษได้รับโอกาสในการพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ |
7,167 ( 54.56%) |
5,086 ( 38.72%) |
861 ( 6.56%) |
65 ( 0.49%) |
35 ( 0.27%) |
4.46 | 0.66 | มาก |
3.7 การจัดการอาชีวศึกษา รูปแบบการศึกษานอกระบบ
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
ตารางที่ 1 จำนวนและร้อยละของสถานศึกษาทั้งหมดและสถานศึกษาที่ให้ข้อมูล
สังกัด | จำนวนของสถานศึกษาที่ให้ข้อมูล(แห่ง) | ร้อยละ |
---|---|---|
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) | 337 | 100.00 |
รวม |
337 |
100.00 |
3.7 การจัดการอาชีวศึกษา รูปแบบการศึกษานอกระบบ
ส่วนที่ 2 สภาพการดำเนินงานตามนโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ
ตารางที่ 2 ระดับการปฏิบัติตามจุดเน้นการจัดการอาชีวศึกษา รูปแบบการศึกษานอกระบบ
ที่ | รายการ | ระดับการปฏิบัติ | ค่าเฉลี่ย | ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน |
แปลผล | ||||
---|---|---|---|---|---|---|---|---|---|
5 | 4 | 3 | 2 | 1 | |||||
การขับเคลื่อนโครงการอาชีวะสร้างช่างฝีมือตามแนวทางโรงเรียนพระดาบส | |||||||||
1 | สถานศึกษามีการส่งเสริมให้ครูได้รับการพัฒนาตามโครงการอาชีวะสร้างช่างฝีมือตามแนวทางโรงเรียนพระดาบส |
53 ( 15.73 %) |
49 ( 14.54 %) |
74 ( 21.96 %) |
25 ( 7.42 %) |
136 ( 40.36 %) |
2.58 | 1.51 | ปานกลาง |
2 | ความพร้อมของสถานที่ใช้ฝึกภาคปฏิบัติด้านการประกอบอาชีพ |
149 ( 44.21 %) |
104 ( 30.86 %) |
25 ( 7.42 %) |
5 ( 1.48 %) |
54 ( 16.02 %) |
3.86 | 1.41 | มาก |
3 | สถานศึกษามีการส่งเสริมสร้างรายได้ให้แก่ผู้เรียน |
164 ( 48.66 %) |
84 ( 24.93 %) |
34 ( 10.09 %) |
4 ( 1.19 %) |
51 ( 15.13 %) |
3.91 | 1.40 | มาก |
4 | สถานศึกษามีการขับเคลื่อนโครงการอาชีวะสร้างช่างฝีมือตามแนวทางโรงเรียนพระดาบสตามหลักสูตร |
48 ( 14.24 %) |
59 ( 17.51 %) |
71 ( 21.07 %) |
22 ( 6.53 %) |
137 ( 40.65 %) |
2.58 | 1.51 | ปานกลาง |
การจัดฝึกอบรมและพัฒนาวิชาชีพระยะสั้น | |||||||||
5 | สถานศึกษามีการพัฒนาหลักสูตรอาชีวศึกษาและหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น |
187 ( 55.49 %) |
89 ( 26.41 %) |
30 ( 8.90 %) |
7 ( 2.08 %) |
24 ( 7.12 %) |
4.21 | 1.15 | มาก |
6 | สถานศึกษามีการบูรณาการวิชาสามัญและวิชาชีพไว้ในชุดวิชาชีพเดียวกัน |
118 ( 35.01 %) |
104 ( 30.86 %) |
62 ( 18.40 %) |
16 ( 4.75 %) |
37 ( 10.98 %) |
3.74 | 1.29 | มาก |
7 | สถานศึกษามีการจัดการเรียนรู้แบบต่อเนื่องเพื่อสะสมหน่วยการเรียนรู้และเทียบโอนหน่วยการเรียนรู้ |
111 ( 32.94 %) |
79 ( 23.44 %) |
72 ( 21.36 %) |
18 ( 5.34 %) |
57 ( 16.91 %) |
3.50 | 1.43 | มาก |
8 | สถานศึกษามีความร่วมมือกับสถานประกอบการในการจัดการอาชีวศึกษาอย่างเข้มข้นเพื่อการมีงานทำ |
206 ( 61.13 %) |
94 ( 27.89 %) |
17 ( 5.04 %) |
1 ( 0.30 %) |
19 ( 5.64 %) |
4.39 | 1.00 | มาก |