นโยบายที่ 5 การส่งเสริมสนับสนุนวิชาชีพครูและบุคลากรทางการศึกษาและบุคลากรสังกัดกระทรวง ศึกษาธิการ

5.1 การส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการตามหลักเกณฑ์การประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ (หลักเกณฑ์ PA)
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป

ตารางที่ 1 จำนวนและร้อยละของสถานศึกษาทั้งหมดและสถานศึกษาที่ให้ข้อมูล

สังกัด จำนวนของสถานศึกษาที่ให้ข้อมูล(แห่ง) ร้อยละ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา (สพป.) 9,541 82.61
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา (สพม.) 1,059 9.17
สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ (สศศ.) 60 0.52
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) 339 2.94
กรมส่งเสริมการเรียนรู้​ (สกร.) 578 5.00

รวม

11,549

100.24



5.1 การส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการตามหลักเกณฑ์การประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ (หลักเกณฑ์ PA)
ส่วนที่ 2 สภาพการดำเนินงานตามนโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

ตารางที่ 2 ระดับการปฏิบัติตามจุดเน้นการส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการตามหลักเกณฑ์การประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ (หลักเกณฑ์ PA)

ที่ รายการ ระดับการปฏิบัติ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน
มาตรฐาน
แปลผล
5 4 3 2 1
1 สถานศึกษามีการเสริมสร้างความรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับการดำเนินการตามมาตรฐานตำแหน่งและมาตรฐานวิทยฐานะฯ ให้แก่ ครูและบุคลากรทางการศึกษา 8,398
( 72.72 %)
2,790
( 24.16 %)
275
( 2.38 %)
20
( 0.17 %)
31
( 0.27 %)
4.69 0.58 มากที่สุด
2 สถานศึกษามีการดำเนินการตามหลักเกณฑ์การประเมินให้มีและเลื่อนวิทยฐานะ (หลักเกณฑ์ PA) 9,179
( 79.48 %)
2,110
( 18.27 %)
174
( 1.51 %)
15
( 0.13 %)
36
( 0.31 %)
4.77 0.50 มากที่สุด
3 ครูและบุคลากรทางการศึกษา หน่วยงานการศึกษา ผู้ที่เกี่ยวข้องสามารถดำเนินการตามหลักเกณฑ์การประเมินให้มีและเลื่อนวิทยฐานะ (หลักเกณฑ์ PA) ได้ถูกต้อง เป็นมาตรฐานเดียวกัน 8,579
( 74.28 %)
2,619
( 22.68 %)
258
( 2.23 %)
20
( 0.17 %)
38
( 0.33 %)
4.71 0.54 มากที่สุด


5.1 การส่งเสริมสนับสนุนการดำเนินการตามหลักเกณฑ์การประเมินวิทยฐานะแนวใหม่ (หลักเกณฑ์ PA)
ส่วนที่ 2 สภาพการดำเนินงานตามนโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

ตารางที่ 3 แสดงปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

ปัญหาอุปสรรค และข้อเสนอแนะ จำนวน (แห่ง) ร้อยละ
ครูและบุคลากรทางการศึกษาบางส่วนยังยังเข้าไม่ถึงข้อมูลในเรื่องของหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินให้มีและเลื่อนวิทยฐานะ (หลักเกณฑ์ PA) 3,548 30.72
การจัดทำข้อตกลงการพัฒนางานมีขอบเขตที่กว้างเกินไปส่งผลให้การปฏิบัติงานไม่ตรงกับข้อตกลงการพัฒนางานที่ทำไว้ ด้านประเมินวิทยฐานะ 2,546 22.05
ครูและบุคลากรทางการศึกษาบางส่วนขาดทักษะด้านการใช้เทคโนโลยี (เนื่องจากการยื่นคำขอมีวิทยฐานะหรือเลื่อนวิทยฐานะต้องใช้ระบบ DPA ซึ่งเป็นระบบดิจิทัลที่ใช้ประเมินในทุกขั้นตอน) 3,760 32.56
อื่น ๆ ระบุ 245 2.12

5.2 การพัฒนาสมรรถนะของครูและบุคลากรทางการศึกษา ทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และสมรรถนะที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตแบบ New Normal
ส่วนที่ 1 ข้อมูลทั่วไป

ตารางที่ 1 จำนวนและร้อยละของสถานศึกษาทั้งหมดและสถานศึกษาที่ให้ข้อมูล

สังกัด จำนวนของสถานศึกษาที่ให้ข้อมูล(แห่ง) ร้อยละ
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา (สพป.) 9,541 76.75
สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา (สพม.) 1,059 8.52
สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ (สศศ.) 60 0.48
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) 339 2.73
กรมส่งเสริมการเรียนรู้​ (สกร.) 578 4.65
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน (สช.) 883 7.10

รวม

12,432

100.23



5.2 การพัฒนาสมรรถนะของครูและบุคลากรทางการศึกษา ทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และสมรรถนะที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตแบบ New Normal
ส่วนที่ 2 สภาพการดำเนินงานตามนโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ

ตารางที่ 2 ระดับการปฏิบัติตามจุดเน้นการพัฒนาสมรรถนะของครูและบุคลากรทางการศึกษาทางด้านเทคโนโลยีดิจิทัล และสมรรถนะที่สอดคล้องกับวิถีชีวิตแบบ New Normal