สรุปการลงพื้นที่ตรวจราชการและติดตามประเมินผลตามสังกัต

สรุปภาพรวมการตรวจราชการ

โรงเรียนที่เป็นหน่วยรับตรวจทั้งหมด 33 โรงเรียน
ทำแบบสรุปแล้วจำนวน 4 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 12.12

สรุปการลงพื้นที่ตรวจราชการและติดตามประเมินผลการขับเคลื่อนนโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

1. ด้านการพัฒนาครูและการจัดการเรียนการสอน
1.1 การจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนทุกระดับมีส่วนร่วมสร้างสรรค์การเรียนรู้ เพื่อให้เกิดสมรรถนะหลักและการพัฒนาตนเองตามความถนัดและความสนใจ (Active Learning)
  1) สภาพความก้าวหน้า
     การนำไปใช้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา ระบุ
     
     การนำไปใช้ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนระบุ
     
     อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
     
  2) ปัญหาและอุปสรรค
     ด้านครูผู้สอน
           ครูไม่ได้รับการอบรม/พัฒนาวิธีการจัดการเรียนการสอน แบบ Active Learning คิดเป็นร้อยละ 3.03 (1/33)
           ครูขาดขวัญ กำลังใจ หรือแรงกระตุ้นในการจัดการเรียนการสอน คิดเป็นร้อยละ 3.03 (1/33)
           ครูขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning คิดเป็นร้อยละ 6.06 (2/33)
           ครูมีภาระงานมาก คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           อื่น ๆ (ถ้ามี) ระบุ
     ด้านการบริหารจัดการ
           ผู้บริหารไม่ให้ความสำคัญกับการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning คิดเป็นร้อยละ 3.03 (1/33)
           นโยบายขาดความต่อเนื่อง คิดเป็นร้อยละ 6.06 (2/33)
           ขาดการมีส่วนร่วม คิดเป็นร้อยละ 3.03 (1/33)
           ขาดการนิเทศ ติดตาม หรือผู้ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
     ด้านสื่อ วัสดุอุปกรณ์
           ขาดสื่อ วัสดุอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอนของผู้เรียน คิดเป็นร้อยละ 3.03 (1/33)
           เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว อุปกรณ์ไม่ทันสมัย คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           ขาดผู้ดูแล หรือซ่อมแซมสื่อ วัสดุอุปกรณ์ คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
     อื่นๆ ระบุ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  
  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  
  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 3.03 (1/33)
      พึงพอใจมาก คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจน้อย คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
1.2 การจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมืองให้มีความทันสมัยสอดรับกับวิถีใหม่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของท้องถิ่น และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง
  1) สภาพความก้าวหน้า
      สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมในการใช้ชีวิตประจำวันที่แสดงถึงความตระหนักและเห็นคุณค่าในประวัติศาสตร์ สังคม วัฒนธรรมของครอบครัว สถานศึกษาและชุมชน คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนใช้ชีวิตประจำวันร่วมกับผู้อื่นโดยรักษาสิทธิของตน เคารพสิทธิของผู้อื่น และรับผิดชอบตามบทบาทหน้าที่ของตนเอง และสิ่งแวดล้อม คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนกำกับตนเองในการใช้จ่ายของตนเอง และครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 3.03 (1/33)
      สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นใฝ่ทำความดี และอยู่ร่วมกับผู้อื่นด้วยดีบนหลักปฏิบัติของศาสนาที่นับถือ คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      สถานศึกษาได้พัฒนาสื่อที่ทันสมัย สอดรับกับวิถีใหม่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      สถานศึกษามีการบูรณาการด้านการผลิตและการใช้สื่อการเรียนการสอนร่วมกับสถานศึกษาอื่น คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      สถานศึกษาเปลี่ยนวิธีการสอนเป็น แนว Active learning และเสริมทักษะในการค้นคว้าหาความรู้กระแสหลัก กระแสรองในทางประวัติศาสตร์ให้เด็กสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนคิดเป็น วิจารณ์เนื้อหาได้ แลแสร้างองค์ความรู้ใหม่ คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      สถานศึกษาสามารถจัดการเรียนการสอนไม่ให้ผู้เรียนเบื่อที่จะเกิดการวิเคราะห์เรียนรู้ สิ่งรอบตัวแม้บางเนื้อหาที่ผู้เรียนเห็นในหนังสือเรียน ไม่ตรงกับความจริงที่เกิดขึ้น คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
  2) ปัญหาและอุปสรรค
     ด้านครูผู้สอน (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
           ครูขาดการพัฒนาเทคนิคและวิธีการจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับวิชาประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมืองให้น่าสนใจ คิดเป็นร้อยละ 3.03 (1/33)
           ครูยังไม่มีความพร้อมในการนำเทคนิค วิธีการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบสื่อออนไลน์ หรือเทคโนโลยีมาประกอบการสอนวิชาประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมือง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           ครูขาดความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน Active Learning มาประยุกต์ใช้ คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           ครูผู้สอนมีภาระงานมาก คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           อื่น ๆ (ถ้ามี) ระบุ
     ด้านการบริหารจัดการ (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
           ผู้บริหารสถานศึกษาไม่ให้ความสำคัญเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมืองให้มีความทันสมัย คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           นโยบายขาดความต่อเนื่อง คิดเป็นร้อยละ 3.03 (1/33)
           ขาดการมีส่วนร่วมระหว่างปราชญ์ชาวบ้าน ผู้ปกครอง สถานศึกษาและผู้เรียนในการสร้างการเรียนรู้เกี่ยวกับการสอนประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมืองให้มีความทันสมัย คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           ผู้เรียนไม่ค่อยสนใจในการเรียนเกี่ยวกับวิชาประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมือง เพราะคิดว่าน่าเบื่อ ไม่ทันสมัย คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
     ด้านสื่อ วัสดุอุปกรณ์ (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
           บริเวณที่ตั้งของสถานศึกษาขาดแหล่งเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชุมชนท้องถิ่นที่น่าสนใจ คิดเป็นร้อยละ 3.03 (1/33)
           ขาดสื่อ เทคโนโลยี วัสดุอุปกรณ์ที่ทันสมัยมาสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์วิถีใหม่ คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
      อื่นๆ ระบุ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  
  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  
  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจมาก คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจน้อย คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
1.3 การพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภทให้มีสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล รวมทั้งการจัดการเรียนการสอน
  1) สภาพความก้าวหน้า
     (1) ครูได้รับการพัฒนาด้านสมรรถนะทางภาษาหรือไม่
           ได้รับการพัฒนา คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           ไม่ได้รับการพัฒนา (ข้ามไปตอบข้อ (5) คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
     (2) ครูได้รับการพัฒนาด้านสมรรถนะทางภาษาโดยหน่วยงานใด
           สพฐ./สอศ./สช./กศน. คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           สพป./สพม./ศธจ./กศจ.จังหวัด คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           หน่วยงานภายนอก เช่น มหาวิทยาลัย คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           อื่นๆ ระบุ
     (3) เมื่อได้รับการพัฒนาด้านสมรรถนะทางภาษา ได้นำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนหรือไม่
           ได้นำไปใช้ ระบุ
           ไม่ได้นำไปใช้ คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
     (4) ครูมีการนำสมรรถนะด้านภาษาไปขยายผลให้กับครูใน/นอกสถานศึกษาหรือไม่อย่างไร
           มี ระบุ
           ไม่มี คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
     (5) ครูได้รับการพัฒนาด้านสมรรถนะทางด้านดิจิทัลหรือไม่
           ได้รับ
           ไม่ได้รับ (ข้ามไปตอบข้อ 2) คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
     (6) ครูได้รับการพัฒนาด้านสมรรถนะทางด้านดิจิทัลโดยหน่วยงานใด
           สพฐ./สอศ./สช./กศน. คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           สพป./สพม./ศธจ./กศจ.จังหวัด คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           หน่วยงานภายนอก เช่น มหาวิทยาลัย คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           อื่นๆ ระบุ
     (7) ครูมีการนำสมรรถนะด้านดิจิทัลไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนหรือไม่อย่างไร
           มี ระบุ
           ไม่มี (ข้ามไปตอบข้อ 2) คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
     (8) ครูสามารถนำสมรรถนะด้านดิจิทัลไปขยายผลให้กับครูใน/นอกสถานศึกษาได้หรือไม่อย่างไร
           ได้ ระบุ
           ไม่ได้ คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
  2) ปัญหาและอุปสรรค
     ด้านครูผู้สอน
           ครูขาดการพัฒนาสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           ครูขาดขวัญและกำลังใจ หรือแรงกระตุ้นพัฒนาสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           ครูมีภาระงานมาก คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           อื่น ๆ (ถ้ามี) ระบุ
     ด้านการบริหารจัดการ
           นโยบายขาดความต่อเนื่อง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           ผู้บริหารไม่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัลของครูและบุคลากรทางการศึกษา คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           ขาดงบประมาณสนับสนุน คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           ขาดการนิเทศ ติดตาม คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
     ด้านสื่อ วัสดุอุปกรณ์
           ขาดสื่อ วัสดุอุปกรณ์ ที่นำมาใช้ในการพัฒนาสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว อุปกรณ์ไม่ทันสมัย คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           ขาดบุคลากรที่เชี่ยวชาญเฉพาะด้านการพัฒนาสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  
  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  
  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจมาก คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจน้อย คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
1.4 หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (หลักเกณฑ์ PA)
  1) สภาพความก้าวหน้า
     (1) ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ ว.9 (PA) และวิธีการอยู่ในระดับใด
           มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           มาก คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           น้อย คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           น้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
     (2) ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการชี้แจงหรือหาความรู้เกี่ยวกับหลักเกณฑ์ ว.9 (PA) จากแหล่งใด (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
           เว็ปไซต์ สำนักงาน ก.ค.ศ. คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           หน่วยงานต้นสังกัดชี้แจง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                สพฐ. (สพป./สพม.) คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                สอศ. คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                กศน. คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                สช. คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           เพื่อนร่วมงาน คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           สื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           เว็ปไซต์ อาทิ ครูบ้านนอกดอทคอม, ครูไทย, ครูวันดีดอทคอม, สถานนีครูดอทคอม คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
     (3) ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีข้อคิดเห็นอย่างไรเกี่ยวกับข้อตกลงในการพัฒนางานตามหลักเกณฑ์ ว.9 (PA)..... (ข้อความ)
     
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      ด้านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ระบุ
      ด้านการประเมินวิทยฐานะ ระบุ
      ด้านการเปลี่ยนหลักเกณฑ์การประเมินบ่อย ทำให้มีความยุ่งยากในการเตรียมเอกสารหลักฐานรองรับการประเมิน ระบุ
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
  3) หน่วยงาน/สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับ หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (หลักเกณฑ์ PA) ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  
  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินการตามหลักเกณฑ์ ว.9 (PA) อยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจมาก คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจน้อย คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
1.5 การขับเคลื่อนศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) และศูนย์บริหารเครือข่ายการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา (Center of Vocational Manpower Networking Management : CVM)
  1) สภาพความก้าวหน้า
     (1) สภาพความก้าวหน้า ความสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบาย (มีเกณฑ์ตัวชี้วัดการประเมิน หรือตัวเลือกประเด็นหรือกิจกรรมที่ปฏิบัติในนโยบายนี้ เพื่อประกอบความก้าวหน้าความสำเร็จ)
          กลุ่มทั่วไป (Standard) สาขาวิชา
          
          กลุ่มเชี่ยวชาญเฉพาะ (Expert) สาขาวิชา
          
          กลุ่มความเป็นเลิศ) (Excellent Center) สาขาวิชา
          
          กลุ่มศูนย์บริหารเครือข่ายการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา (Center of Vocational Manpower Networking Management : CVM) สาขาวิชา
          
     (2) สถานศึกษามีผลการประเมินคุณภาพตามแนวทางการขับเคลื่อนศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) และศูนย์บริหารเครือข่ายการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา (Center of Vocational Manpower Networking Management : CVM) อยู่ในระดับใด
           ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           ดี คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           พอใช้ คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
     (3) เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
           สถานศึกษามีนวัตกรรมการบริหารจัดการสอดคล้องกับสภาพบริบท และตอบสนองความต้องการของชุมชน สังคม และยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           มีครุภัณฑ์และอุปกรณ์ สื่อ เทคโนโลยีดิจิทัล ทรัพยากร สิ่งสนับสนุนการศึกษา ที่เพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอน คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           สถานศึกษามีภาคีเครือข่ายความร่วมมือกับองค์กรทางวิชาชีพ สถานประกอบการ สถาบันการศึกษาอาชีวศึกษา/อุดมศึกษาทั้งในประเทศหรือต่างประเทศ ในการพัฒนาทักษะทางวิชาการ ทักษะอาชีพ และการฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพของครู และผู้เรียน คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           หลักสูตรมีความสอดคล้องกับมาตรฐานอาชีพตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ เชื่อมโยงสมรรถนะอาชีพในการท างานสู่ระบบคุณวุฒิทางการศึกษา หรือมาตรฐานอาชีพตามที่หน่วยงานซึ่งมีหน้าที่ให้การรับรองมาตรฐานกำหนดไว้ ในสาขาวิชาที่มีความเป็นเลิศ คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           ครูมีสมรรถนะทางวิชาชีพที่ทันสมัย สอดคล้องกับเทคโนโลยีที่สถานประกอบการใช้ในปัจจุบัน ตลอดจนมีทักษะการจัดกระบวนการจัดการเรียนรู้ คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           ผู้เรียนมีสมรรถนะทางวิชาชีพในสาขาวิชาที่มีความเป็นเลิศ ตรงกับความต้องการของสถานประกอบการ คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           สถานศึกษาเป็นศูนย์พัฒนาอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการ การประเมินสมรรถนะบุคคลตามมาตรฐานอาชีพในสาขาอาชีพที่สอดคล้องกับสาขาวิชา ที่มีความเป็นเลิศ ให้กับผู้เรียน ผู้สำเร็จการศึกษา ผู้ประกอบอาชีพ หรือ ประชาชนทั่วไป เพื่อสร้างโอกาสการเข้าสู่โลกอาชีพและการมีงานทำ คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           สถานศึกษามีระบบประกันคุณภาพที่เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา เหมาะสมกับหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน สื่อเทคโนโลยี ทรัพยากรการเรียนรู้ และการประเมินการเรียนการสอน โดยมีการกำกับ ติดตาม และประเมินผลเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      มาตรฐานอาชีพหรือมาตรฐานฝีมือแรงงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ไม่ครอบคลุมสาขาวิชา คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      นโยบายขาดความต่อเนื่อง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      ครูผู้สอนมีวุฒิการศึกษาวิชาชีพ ไม่ตรงตามสาขาวิชาที่สอน คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      ขาดห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ครุภัณฑ์/อุปกรณ์ สื่อ ในการจัดการเรียนการสอนที่ทันสมัย คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      ผู้เรียนมีสมรรถนะไม่ตรงตามหลักสูตรกำหนด กับความต้องการของสถานประกอบการ คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      สถานศึกษาขาดการเตรียมความพร้อมตามแนวทางการจัดการสถานศึกษา ภายใต้ศูนย์ คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) และศูนย์บริหารเครือข่ายการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา (Center of Vocational Manpower Networking Management : CVM) ในการประเมินสมรรถนะผู้เรียนและการรับรองที่เอื้อต่อการพัฒนารายบุคคล คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  
  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  
  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจมาก คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจน้อย คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
1.6 ความปลอดภัยของผู้เรียน โดยการสร้างสถานศึกษาปลอดภัย และบริหารจัดการเชิงบูรณาการในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  1) สภาพความก้าวหน้า
     1) ครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการส่งเสริม สนับสนุน ให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างภูมิคุ้มกัน พร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงและภัยคุกคามรูปแบบใหม่ ทุกรูปแบบ
           ครบทุกประเภทภัยคุกคาม คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           บางประเภทภัยคุกคาม คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                ภัยยาเสพติด คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                ภัยความรุนแรง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                ภัยพิบัติต่างๆ คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                อุบัติเหตุ คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                โรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำ (เช่น CVID-19 เป็นต้น) คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                ฝุ่น PM 2.5 คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                การค้ามนุษย์ คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                การคุกคามในชีวิตและทรัพย์สิน คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                อาชญากรรมไซเบอร์ คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           ไม่มี คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
     2) การบริหารจัดการเชิงบูรณาการในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สถานศึกษาได้ดำเนินงานหรือได้รับความช่วยเหลือจากหน่วยงานใดบ้าง (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
           กระทรวงศึกษาธิการ คิดเป็นร้อยละ 3.03 (1/33)
           กระทรวงสาธารณสุข คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           กรมการปกครอง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           ภาคเอกชน คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           อื่นๆ (ระบุ)
     3) สถานศึกษามีการบริหารจัดการเชิงบูรณาการในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) อย่างไรบ้าง
           มี
           ไม่มี คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
     4) สถานศึกษามีแผนการดำเนินงาน/แผนเผชิญเหตุ/แนวทาง/คู่มือเพื่อความปลอดภัยของผู้เรียนในสถานศึกษา
           มี
           ไม่มี คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
     5) ผู้เรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมที่สถานศึกษาจัดเพื่อส่งเสริม สนับสนุนในการสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม พร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงและภัยคุกคามรูปแบบใหม่ทุกรูปแบบ
           ครบทุกประเภทภัยคุกคาม คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           บางประเภทภัยคุกคาม คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                ภัยยาเสพติด คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                ภัยความรุนแรง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                ภัยพิบัติต่างๆ คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                อุบัติเหตุ คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                โรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำ (เช่น CVID-19 เป็นต้น) คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                ฝุ่น PM 2.5 คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                การค้ามนุษย์ คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                การคุกคามในชีวิตและทรัพย์สิน คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                อาชญากรรมไซเบอร์ คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           ไม่มี คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      ผู้บริหารขาดความตระหนักในการสร้างความรู้ความเข้าใจกับการรับมือกับภัยคุกคามรูปแบบใหม่ให้กับผู้เรียน คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      ครูขาดขวัญกำลังใจ การคุ้มครองดูแลช่วยเหลือในการปฏิบัติงานภายในสถานศึกษา คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  
  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับความปลอดภัยของผู้เรียน โดยการสร้างสถานศึกษาปลอดภัยของสถานศึกษาท่าน ที่คิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  
  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 3.03 (1/33)
      พึงพอใจมาก คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจน้อย คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
2. ด้านการสร้างโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียมกันทางสังคม
2.1 การค้นหาเด็กวัยเรียนหลุดจากระบบการศึกษา และติดตามให้ความช่วยเหลือเข้าสู่ระบบการศึกษา
  1) สภาพความก้าวหน้า
      สถานศึกษามีการค้นพบเด็กวัยเรียนที่หลุดจากระบบการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน..............คน (ตัวเลข)
      การติดตามให้ความช่วยเหลือเข้าสู่ระบบการศึกษา สำหรับเด็กที่อยู่ในการศึกษาภาคบังคับ จำนวน ................คน (ตัวเลข)
          กศน. จำนวน................คน (ตัวเลข)
          อาชีวศึกษา จำนวน ...........คน (ตัวเลข)
      การติดตามให้ความช่วยเหลือผู้เรียนเข้าสู่ระบบการศึกษา สำหรับเด็กที่อายุเกิน 15 ปี จำนวน.............คน (ตัวเลข)
          กศน. จำนวน................คน (ตัวเลข)
          อาชีวศึกษา จำนวน ...........คน (ตัวเลข)
          เข้าทำงานสถานประกอบการ จำนวน...............คน (ตัวเลข)
          ประกอบอาชีพอื่นๆ จำนวน ................คน (ตัวเลข)
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      ด้านเศรษฐกิจ รายได้ของครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 3.03 (1/33)
      การย้ายถิ่นฐานตามผู้ปกครอง คิดเป็นร้อยละ 3.03 (1/33)
      ความไม่พร้อมของผู้เรียน ด้านสติปัญญา ร่างกาย ฯลฯ คิดเป็นร้อยละ 3.03 (1/33)
      ปัญหาของครอบครัว (หย่าร้าง /แยกกันอยู่) คิดเป็นร้อยละ 3.03 (1/33)
      การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      อื่นๆ (ถ้ามี)
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  
  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  
  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 3.03 (1/33)
      พึงพอใจมาก คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจน้อย คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
2.2 การดูแลเด็กปฐมวัย ด้วยการส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้พัฒนาการสมวัย ได้รับโอกาสทางการศึกษาทั้งในและนอกระบบการศึกษา
  1) สภาพความก้าวหน้า
     (1) ผู้เรียนในระดับปฐมวัย (อนุบาล 3) ปีการศึกษา 2564 (30 เมษายน 2565) ทั้งหมด
          จำนวน.............คน (ตัวเลข) จำแนกเป็น
          ผู้เรียนปกติ จำนวน..........คน (ตัวเลข)
          ผู้เรียนที่มีความบกพร่อง จำนวน.............คน (ตัวเลข)
     (2) ผู้เรียนปกติ มีผลการประเมินพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา ผ่านเกณฑ์การประเมินพัฒนาการคุณภาพระดับ 3 ทั้ง 4 ด้าน
          จำนวน..............คน (ตัวเลข)
          คิดเป็นร้อยละ........... (เทียบจากผู้เรียนปกติ) (ตัวเลข)
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      ขาดแคลนครูวิชาเอกปฐมวัย คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      ครูผู้สอนระดับปฐมวัยสอนไม่ตรงวิชาเอก คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      ครูไม่ครบชั้น (ครู 1 คน สอน 2 ระดับชั้น) คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  
  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการค้นหาเด็กวัยเรียนหลุดจากระบบการศึกษา และติดตามให้ความช่วยเหลือเข้าสู่ระบบการศึกษาของสถานศึกษาท่าน ที่คิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  
  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจมาก คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจน้อย คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
2.3 การสร้างโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพสำหรับคนพิการ และผู้ด้อยโอกาสและผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทั้งในและนอกระบบการศึกษา
  1) สภาพความก้าวหน้า
      ผู้เรียนที่เป็นผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาสและผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทั้งในและนอกระบบการศึกษา เข้าถึงบริการการศึกษา คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      ผู้เรียนที่เป็นผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาสและผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทั้งในและนอกระบบการศึกษา ได้รับการพัฒนาสมรรถภาพหรือบริการทางการศึกษาที่เหมาะสมตามความจำเป็น โปรดระบุรายละเอียด      
      สถานศึกษามีการจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program : IEP) สำหรับเด็กพิการเรียนรวม (9 ประเภท) และผ่านเกณฑ์การประเมินระบบการจัดการศึกษา คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      สถานศึกษามีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนและบริหารจัดการสถานศึกษาที่มีประสิทธิภาพ สามารถลดจำนวนเด็กด้อยโอกาส โดยให้เด็กทุกคนสามารถเข้าถึงและส่งเสริมเด็กด้อยโอกาสให้ได้รับการศึกษาเต็มตามศักยภาพ คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      สถานศึกษา/ผู้รับผิดชอบงานการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการและผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ขาดความเชี่ยวชาญ ความชำนาญเฉพาะด้าน คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      ผู้ปกครองบางส่วนขาดความรู้ ความเข้าใจและมีเจตคติที่ไม่ดีต่อความบกพร่องของเด็กและการส่งเด็กเข้ารับการพัฒนาในสถานศึกษา คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      การพัฒนาและส่งเสริมผู้เรียน เป็นไปได้ยาก เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื่อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  
  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการสร้างโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพสำหรับคนพิการและผู้ด้อยโอกาสและผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทั้งในและนอกระบบการศึกษาของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  
  5) ท่านมีความพึงพอใจอยู่ในระดับใดของการดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนปฐมวัย
      พึงพอใจมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจมาก คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจน้อย คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
3. ด้านความร่วมมือ
3.1 การจัดการศึกษาแบบทวิภาคีสู่คุณภาพมาตรฐาน ผ่านศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่
  1) สภาพความก้าวหน้า
     ตามแนวทางปฏิบัติจัดการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
          ความร่วมมือกับสถานประกอบการ
                ไม่มีความร่วมมือ คิดเป็นร้อยละ 3.03 (1/33)
                มีความร่วมมือ คิดเป็นร้อยละ 3.03 (1/33)
                     ในพื้นที่บริการ คิดเป็นร้อยละ 3.03 (1/33)
                     นอกพื้นที่บริการ/นอกจังหวัด คิดเป็นร้อยละ 3.03 (1/33)
                     ต่างประเทศ คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
          ความร่วมมือกับสถานประกอบการในการจัดการศึกษาระบบทวิภาคี
                ไม่มีความร่วมมือ คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                มีความร่วมมือกับสถานประกอบการอย่างเข้มข้น คิดเป็นร้อยละ 6.06 (2/33)
                     การพัฒนาหลักสูตร คิดเป็นร้อยละ 3.03 (1/33)
                     การพัฒนาครู คิดเป็นร้อยละ 3.03 (1/33)
                     การพัฒนานักเรียนนักศึกษา คิดเป็นร้อยละ 3.03 (1/33)
                     การสนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา คิดเป็นร้อยละ 3.03 (1/33)
     (1) ด้านคุณภาพหลักสูตร
          (1.1) ด้านการพัฒนาหลักสูตรรายวิชา ระดับคุณภาพในการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะรายวิชาที่สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการ อยู่ในระดับใด
                ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 6.06 (2/33)
                ดี คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                ปรับปรุง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
          (1.2) ด้านการบริหารจัดการหลักสูตร ระดับคุณภาพในการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง อยู่ในระดับใด
                ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 6.06 (2/33)
                ดี คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                ปรับปรุง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
          (1.3) ด้านทรัพยากรการจัดอาชีวศึกษา ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และพื้นที่ อยู่ในระดับใด
                ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 6.06 (2/33)
                ดี คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                ปรับปรุง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
          (1.4) ด้านคุณภาพผู้สำเร็จการศึกษา ผ่านเกณฑ์การทดสอบมาตรฐานวิชาชีพของสถานศึกษาและหน่วยงานภายนอก อยู่ในระดับใด
                ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                ดี คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                ปรับปรุง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
          (1.5) ด้านคุณภาพผู้สำเร็จการศึกษา ระบบทวิภาคีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระ อยู่ในระดับใด
                ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                ดี คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                ปรับปรุง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
     (2) ด้านคุณภาพผู้สำเร็จการศึกษา
          (2.1) ด้านทักษะและความสามารถในการปฏิบัติงาน ผู้เรียนชั้นปีสุดท้ายที่มีคุณลักษณะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพ (VQ) อยู่ในระดับใด
                ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                ดี คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                ปรับปรุง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
          (2.2) ด้านทักษะและความสามารถในการปฏิบัติงาน ผู้เรียนผ่านการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง อยู่ในระดับใด
                ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                ดี คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                ปรับปรุง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
          (2.3) ด้านความพึงพอใจของสถานประกอบการที่มีต่อคุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษา อยู่ในระดับใด
                ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                ดี คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
                ปรับปรุง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
  2) ปัญหาและอุปสรรค
     ด้านครูผู้สอน
           ครูไม่เข้าใจการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี คิดเป็นร้อยละ 6.06 (2/33)
           ครูขาดขวัญและกำลังใจ การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี คิดเป็นร้อยละ 6.06 (2/33)
           อื่น ๆ (ถ้ามี) ........................................ (ข้อความ)
     ด้านการบริหารจัดการ
           สถานศึกษามีการปรับเปลี่ยนผู้บริหารบ่อย ทำให้ขาดความต่อเนื่อง คิดเป็นร้อยละ 6.06 (2/33)
           ผู้เรียน และผู้ปกครองไม่เข้าใจการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี คิดเป็นร้อยละ 6.06 (2/33)
           สถานประกอบการมีข้อจำกัดในการรับผู้เรียนเข้ารับการฝึกวิชาชีพ คิดเป็นร้อยละ 6.06 (2/33)
           อื่นๆ (ถ้ามี)............................................... (ข้อความ)
     ด้านผู้เรียน
           ผู้เรียนขาดทักษะ Sft Skill คิดเป็นร้อยละ 6.06 (2/33)
           ผู้เรียนไม่ปรับตัวเข้ากับสถานประกอบการ คิดเป็นร้อยละ 6.06 (2/33)
           ผู้เรียนเลือกฝึกวิชาชีพใกล้บ้าน ซึ่งไม่ตรงกับสาขาวิชาที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด คิดเป็นร้อยละ 6.06 (2/33)
           ค่าใช้จ่ายในการฝึกวิชาชีพ คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
      อื่นๆ ระบุ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  


  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีสู่คุณภาพมาตรฐาน ผ่านศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่ของสถานศึกษาท่าน ที่คิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  


  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 3.03 (1/33)
      พึงพอใจมาก คิดเป็นร้อยละ 3.03 (1/33)
      พึงพอใจปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจน้อย คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
3.2 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทุกช่วงวัย โดยการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย และสร้างการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อการพัฒนาทักษะอาชีพ โดยการเพิ่มพูนทักษะ (Re-skill) พัฒนาทักษะ (Up skill) และการเรียนรู้ทักษะใหม่ (New skills)
  1) สภาพความก้าวหน้า
     ด้านหลักสูตร
           หลักสูตรเพื่อการพัฒนาอาชีพ Re-skill/Up-Skill/New skills คิดเป็นร้อยละ 3.03 (1/33)
               จำนวน.................หลักสูตร (ตัวเลข) 6
               จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนา .....................คน (ตัวเลข)
           หลักสูตรกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
               จำนวน.................หลักสูตร (ตัวเลข)
               จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนา .....................คน (ตัวเลข)
           หลักสูตรกลุ่มอาชีพความคิดสร้างสรรค์ คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
               จำนวน.................หลักสูตร (ตัวเลข)
               จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนา .....................คน (ตัวเลข)
           หลักสูตรกลุ่มอาชีพอุตสาหกรรม คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
               จำนวน.................หลักสูตร (ตัวเลข)
               จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนา .....................คน (ตัวเลข)
           หลักสูตรกลุ่มอาชีพเฉพาะทาง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
               จำนวน.................หลักสูตร (ตัวเลข)
               จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนา .....................คน (ตัวเลข)
           อื่นๆ ระบุ
               จำนวน.................หลักสูตร (ตัวเลข)
               จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนา .....................คน (ตัวเลข)
     ด้านกระบวนการพัฒนา
           แบบอบรม/สัมมนา แบบรวมกลุ่ม มีวิทยากรบรรยาย คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           แบบสื่อออนไลน์ ผ่านระบบ Zm หรือแอพพลิเคชั่นต่างๆ คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           แบบเรียนรู้ด้วยตัวเอง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ ด้านกระบวนการพัฒนา
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      ระยะเวลาในการพัฒนาไม่สัมพันธ์กับงบประมาณที่จัดสรร คิดเป็นร้อยละ 6.06 (2/33)
      นโยบายขาดความต่อเนื่อง คิดเป็นร้อยละ 6.06 (2/33)
      ขาดการมีส่วนร่วม คิดเป็นร้อยละ 6.06 (2/33)
      ขาดบุคลากรที่มีความชำนาญเฉพาะด้านในแต่ละหลักสูตร คิดเป็นร้อยละ 6.06 (2/33)
      วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือในการพัฒนาไม่เพียงพอ และไม่ทันสมัย คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      รูปแบบการพัฒนายังยึดติดกับเนื้อหามากกว่าทักษะกระบวนการ คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      อื่นๆ ระบุ ปัญหาและอุปสรรค
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  
  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่านที่คิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี)** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  


  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 3.03 (1/33)
      พึงพอใจมาก คิดเป็นร้อยละ 3.03 (1/33)
      พึงพอใจปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจน้อย คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
4. ด้านเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
4.1 การนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วมและการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน
  1) สภาพความก้าวหน้า
     (1) การนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน
          (1.1) การนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษา
                สถานศึกษามีการจัดทำ/นำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษา ทุกระดับการศึกษา ระบุ คิดเป็นร้อยละ 3.03 (1/33)
                ครูได้รับการพัฒนาการจัดทำสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยและนำมาปรับใช้ในการเรียนการสอน คิดเป็นร้อยละ 3.03 (1/33)
                สถานศึกษามีการส่งเสริม สนับสนุน โดยการจัดการเรียนการสอน/กิจกรรม เพื่อให้ผู้เรียนได้รับ การส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน คิดเป็นร้อยละ 6.06 (2/33)
     (2) รูปแบบการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษาภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
           On-Site (การจัดการเรียนการสอนตามปกติ) คิดเป็นร้อยละ 3.03 (1/33)
           On Air (การเรียนการสอนผ่านทีวี/ผ่านระบบดาวเทียม/ระบบเคเบิลทีวี/ระบบ IPTV/ระบบ Zoom) คิดเป็นร้อยละ 3.03 (1/33)
           Online (การเรียนการสอนผ่านอินเตอร์เน็ต) คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           On Hand (การจัดการเรียนการสอนโดยนำหนังสือ แบบฝึกหัด ใบงาน ไปเรียนรู้ที่บ้านภายใต้ความช่วยเหลือของผู้ปกครอง) คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           On-Demand (การเรียนการสอนผ่านเว็บไซต์ DLTV ช่อง Youtube และแอพลิเคชัน DLTV บนสมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ต และอื่นๆ) คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
           รูปแบบผสมผสาน ระบุ
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      ครูขาดการพัฒนาในการจัดทำสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยและนำมาปรับใช้ในการเรียนการสอน คิดเป็นร้อยละ 3.03 (1/33)
      ครูไม่มีความชำนาญในการใช้สื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัย คิดเป็นร้อยละ 3.03 (1/33)
      ผู้เรียนขาดแคลนอุปกรณ์และการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต สำหรับการเรียนการสอน คิดเป็นร้อยละ 3.03 (1/33)
      ผู้เรียนขาดการมีส่วนร่วมในการเรียน คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  
  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  
  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 6.06 (2/33)
      พึงพอใจมาก คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจน้อย คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)
      พึงพอใจน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/33)