ข้อมูลพื้นฐาน
รหัสโรงเรียน (MOE Code) : 1011570009
โรงเรียน : มหาภาพกระจาดทองอุปถัมภ์
เขตพื้นที่ : สพป.สมุทรปราการ เขต 1
จังหวัด : สมุทรปราการ
สังกัด : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เขตตรวจราชการ : 2

การลงตรวจพื้นที่

รายงานการลงพื้นที่ตรวจราชการและติดตามประเมินผลการขับเคลื่อนนโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

1. ด้านการพัฒนาครูและการจัดการเรียนการสอน
1.1 การจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนทุกระดับมีส่วนร่วมสร้างสรรค์การเรียนรู้ เพื่อให้เกิดสมรรถนะหลักและการพัฒนาตนเองตามความถนัดและความสนใจ (Active Learning)
  1) สภาพความก้าวหน้า
     การนำไปใช้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา ระบุ
     

กลุ่มสาระคณิตศาสตร์

กลุ่มสาระคณิตศาสตร์ได้ใช้รูปแบบการเรียนการสอนในรูปแบบของ Active Learning เพื่อเสริมสร้าง

ทักษะและกระบวนการผ่านการสอนแบบจินตคณิตศาสตร์ นักเรียนใช้ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์

สร้างองค์ความรู้และจัดระบบการเรียนรู้ด้วยตนเองจากการได้ลงมือปฏิบัติกิจกรรม ได้รับความช่วยเหลือ แนะนํา ให้

กําลังใจ ทําให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความหมาย เกิดความเชื่อมั่นในตนเอง มีทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์

ตระหนักถึงความสําคัญในการเรียน เห็นความสัมพันธ์และสามารถนําความรู้ทางคณิตศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ได้ใน

ชีวิตประจําวัน และยังมีการจัดกระบวนการการเรียนรู้ในรูปแบบ Active learning ตามแนวคิดการสร้างสรรค์ทาง

ปัญญา เพื่อช่วยให้ผู้เรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้ หรือสร้างความรู้ให้เกิดขึ้นในตนเอง ด้วยการลงมือปฏิบัติจริงผ่าน

สื่อหรือกิจกรรมการเรียนรู้ ที่มีครูผู้สอนเป็นผู้แนะนํา กระตุ้น หรืออํานวยความสะดวก ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ขึ้น

โดยกระบวนการคิดขั้นสูง กล่าวคือ ผู้เรียนมีการวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการประเมินค่าจากสิ่งที่ได้รับจากกิจกรรม

การเรียนรู้ ทําให้การเรียนรู้เป็นไปอย่างมีความหมายและนําไปใช้ในสถานการณ์อื่นๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย

ในการเรียนรู้แบบ Active Learning กับการเรียนการสอนของกลุ่มสาระภาษาไทยเน้นผู้เรียนเป็นสําคัญ ได้

มีการจัดการเรียนที่ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในชั้นเรียนโดยลงมือกระทํามากกว่าที่นั่งฟังเพียงอย่างเดียว และผู้เรียนมีส่วน

ร่วมในกิจกรรม เช่น อ่าน อภิปราย และเขียน ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง และยังใช้

รูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning เรื่อง ชนิดของคํา เพื่อพัฒนาทักษะการอ่านและการเขียน แบบ

ประเมินความเหมาะสมของรูปแบบ แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน แบบประเมินทักษะการอ่าน การเขียน

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ

Active Learning คือกระบวนการในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ผู้เรียนต้องได้มีโอกาสลงมือกระทํา

มากกว่าการฟังเพียงอย่างเดียว ต้องจัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้เรียนรู้โดยการอ่าน, การเขียน, การโต้ตอบ, และการ

วิเคราะห์ปัญหา อีกทั้งให้ผู้เรียนได้ใช้กระบวนการคิดขั้นสูง ได้แก่ การวิเคราะห์, การสังเคราะห์, และการประเมินค่า

ในกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลาย เช่น Role plays Pair

discussion Partners Team project Games ฯลฯ เสริมแรงบวกด้วยการเพิ่มคําชมและเพิ่มเติมประสบการณ์

ใหม่ๆ เช่น การยกตัวอย่างจากประสบการณ์จริง โดยต้องให้นักเรียนเป็นนักแสดงนํา เป็นพระเอก นางเอก ไม่ใช่เป็น

ตัวประกอบของห้องเรียน เน้นให้หาความรู้นอกห้องเรียน เช่น ลงพื้นที่เพื่อหาข้อมูลจากแหล่งสถานที่จริง คิดเอง

เป็น ลงมือปฏิบัติเป็น และแก้ปัญหาเป็น


กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี

ครูผู้สอนในวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี รูปแบบการเรียนการสอนแบบ Active Learning โดยใช้

Thinking Based Learning กระตุ้นให้นักเรียน คิดเป็นลําดับขั้น และสามารถพิจารณาประเด็นได้รอบด้าน ทําให้

บรรยากาศในห้องเรียนสนุกคิด เกิดการมีส่วนร่วมระหว่างครูเและนักเรียน เปลี่ยนวิชาวิทยาศาสตร์ที่ซับซ้อน น่า

เบื่อให้มีแต่ความสนุก ผู้เรียนได้ลงมือปฎิบัติและทํากิจกรรมจริงในการเรียนรู้

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม

การจัดการเรียนการสอนในรายวิชาสังคมศึกษา แบบ Active learning จัดผ่านกิจกรรมการเรียนรู้ใน

ห้องเรียนไม่ว่าจะเป็นการจัดกิจกรรมรายบุคคล กิจกรรมคู่ กิจกรรมกลุ่ม กิจกรรมกลุ่มโครงงานร่วมกัน การจัด

กิจกรรมควรต้องมีการวางแผน ตั้งวัตถุประสงค์ กลุ่มเป้าหมาย จัดกิจกรรมเมื่อไร อย่างไร ตัวอย่างเช่น

ครูนําภาพวัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม มาให้นักเรียนดูแล้วตอบคําถามดังต่อไปนี้

1) ภาพนี้คือสถานที่ใด

2) เป็นหลักฐานประเภทใด

นักเรียนตอบคําถามกระตุ้นความคิด และครูอธิบายเชื่อมโยงให้นักเรียนเข้าใจว่า นักเรียนสามารถศึกษา

ประวัติศาสตร์ในสมัยรัตนโกสินทร์ได้จากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ต่างๆ ในสมัยรัตนโกสินทร์ ได้แก่ หลักฐาน

ชั้นต้น หลักฐานชั้นรอง และแหล่งหลักฐานทางประวัติศาสตร์

6. กลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ

Active Learning เป็นกระบวนการเรียนรู้ที่ให้ผู้เรียนได้เรียนรู้อย่างมีความหมาย โดยการร่วมมือระหว่าง

ผู้เรียนด้วยกัน ครูต้องลดบทบาทในการสอนและการให้ข้อความรู้แก่ผู้เรียนโดยตรงลงแต่ไปเพิ่มกระบวนการและ

กิจกรรมที่จะทําให้ผู้เรียนเกิดความกระตือรือร้นในการจะทํากิจกรรมต่างๆ มากขึ้น และอย่างหลากหลาย

- ในรายวิชา ศิลปะ การเรียนการสอนวิชาศิลปะ ถ้าเรียนแต่ทฤษฎี ก็ไม่สามารถทําให้นักเรียนมีความรู้

อย่างลึกซึ้ง จึงสอนโดยการลงมือปฏิบัติจริง เช่น การวาดภาพจิตรกรรมบนฝาผนังห้องเรียน โดยที่นักเรียนร่วมกัน

ออกแบบร่วมกันวาดภาพและลงสี อีกทั้งยังเป็นการสร้างบรรยากาศในการเรียนวิชาศิลปะอีกด้วย

- ในรายวิชาดนตรี นาฏศิลป์ การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning และการจัดการเรียนรู้แบบ สามารถ

พัฒนาการเรียนรู้ของนักเรียนได้จริงโดยอาศัยการพัฒนาการจัดการเรียนรู้ของครูที่ทํางานกันเป็นทีม ผ่านขั้นตอน

ของกระบวนการศึกษาชั้นเรียน การศึกษา การเลือกหัวข้อที่ อยากเรียน เช่น การเลือกเพลง การเลือก ท่ารํา ร่วมถึง

การแก้ปัญหาและประยุคใช้ได้

กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานพื้นฐานอาชีพ

Active Learning กับการจัดการเรียนรู้ในรายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี นํารูปแบบการจัดการ

เรียนรู้ Active Learning ไปใช้ในกระบวนการจัดการเรียนการสอน ในรายวิชาการงานอาชีพและเทคโนโลยี งาน

ช่าง งานประดิษฐ์ ดังนี้

1. จัดการเรียนการสอนโดยให้นักเรียนเรียนรู้จากการปฏิบัติจริง

2. จัดกิจกรรมให้ผู้เรียนได้พัฒนาสมองด้านการคิด การแก้ไขปัญหา และการนําความรู้ไปประยุกต์ใช้

3. อํานวยความสะดวกในการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียน ให้ผู้เรียนเป็นผู้ปฏิบัติด้วยตนเอง

4. ผู้เรียนเกิดความรู้เกิดจากประสบการณ์ การสร้างองค์ความรู้ และการสรุปทบทวนของตัวผู้เรียน

     การนำไปใช้ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนระบุ
     

ชมรม

กิจกรรมชมรมโดยการจัดกิจกรรมการเรียนแบบ Active Learning นี้ สนุกไปกับภาษา, คณิตศาสตร์ประ

ยุคต์, ดนตรีสากล, ร้องเพลงเต้นรํา ,สนุกวิทย์คิดสร้างสรรค์,เกมวิทยาศาสตร์พาเพลิน,สิ่งประดิษฐ์คิดสนุก, สนุกคิด

สิ่งประดิษฐ์สร้างสรรค์,คอมพิวเตอร์,ภาษาพาเพลิน กิจกรรมเหล่านี้คุณครูได้ใช้การจัดการเรียนการสอนผ่านรูปแบบ

Active Learning โดยใช้การยึดหลักการให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง “Child Centered” การเรียนโดย

การปฏิบัติจริง Learning by Doing และปฏิบัติเพื่อให้เกิดการเรียนรู้และแก้ปัญหาได้ Doing by Learning

“มองเห็นภาพกิจกรรม” ได้ทันทีผู้เรียนได้ลงมือทํา มีการจําลองเหตุการณ์ให้นักเรียนได้ลงมือทํา ตัวอย่างเช่น

กิจกรรม “คุกกี้คาเฟ่” จัดกิจกรรมผ่าน Role Playing

ลูกเสือเนตรนารี

กิจกรรม ลูกเสือ เนตรนารี ครูผู้สอนให้นักเรียนเลือกหัวข้อที่ต้องการเรียน จากนั้นให้นักเรียนจับกลุ่ม จับคู่

เขียนแผนผังมโนทัศน์จะแสดงแนวคิดและใช้คําเชื่อมโยงระหว่างแนวคิด ตั้งคําถาม นักเรียนคิดหาคําตอบด้วยตัวเอง

จากนั้นนักเรียนอภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็นกับเพื่อนๆในชั้นเรียน หรือบางหัวข้อใช้กิจกรรม Gallery Walk

คือครูกําหนดหัวข้อเรื่อง นักเรียนเขียนแนวคิด วิธีการ ลงบนกระดาษโปสเตอร์จากนั้นติดไว้รอบๆห้อง ให้แต่ละคนที่

อยู่ในชมรมได้เดินชมผลงานและแลกเปลี่ยนเรียนรู้

      

     อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
     
  2) ปัญหาและอุปสรรค
     ด้านครูผู้สอน
           ครูไม่ได้รับการอบรม/พัฒนาวิธีการจัดการเรียนการสอน แบบ Active Learning
           ครูขาดขวัญ กำลังใจ หรือแรงกระตุ้นในการจัดการเรียนการสอน
           ครูขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning
           ครูมีภาระงานมาก
           อื่น ๆ (ถ้ามี) ระบุ
     ด้านการบริหารจัดการ
           ผู้บริหารไม่ให้ความสำคัญกับการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning
           นโยบายขาดความต่อเนื่อง
           ขาดการมีส่วนร่วม
           ขาดการนิเทศ ติดตาม หรือผู้ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
     ด้านสื่อ วัสดุอุปกรณ์
           ขาดสื่อ วัสดุอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอนของผู้เรียน
           เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว อุปกรณ์ไม่ทันสมัย
           ขาดผู้ดูแล หรือซ่อมแซมสื่อ วัสดุอุปกรณ์
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
     อื่นๆ ระบุ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  

- ครูได้รับการอบรมและพัฒนาวิธีการจัดการเรียนการสอนแบบ Active learning ทั้งนี้

หลังจากที่คุณครูผู้สอนทุกท่านได้ดำเนินการกิจกรรมดังกล่าวแล้วได้มาจากกระบวนการจัดกิจกรรมโดยผ่านกระบวนการคือให้นักเรียนนั้นได้ลงมือปฏิบัติจริงและทั้งนี้และมีการแสดงหาความรู้ด้วยตนเองโดยมีคุณครูผู้สอนเป็นผู้ให้คำชี้แนะ

  -สถานศึกษามีการจัดรูปแบบนิเทศการสอนแบบอออนไลน์  โดยเน้นย้ำเรื่องการจัดการเรียนรู้

แบบ Active learning ให้กับครูผู้สอนเพื่อใช้จัดกิจกรรม หลังเสร็จสิ้นกระบวนการจะได้รับคำเสนอแนะและเสนอแนะแนวทางต่างๆ 

  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  

การจัดการนิเทศการสอนออนไลน์ของคุณครูทุกท่านในด้านการจัดกระบวนการเรียนการสอน

  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
1.2 การจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมืองให้มีความทันสมัยสอดรับกับวิถีใหม่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของท้องถิ่น และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง
  1) สภาพความก้าวหน้า
      สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมในการใช้ชีวิตประจำวันที่แสดงถึงความตระหนักและเห็นคุณค่าในประวัติศาสตร์ สังคม วัฒนธรรมของครอบครัว สถานศึกษาและชุมชน
      สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนใช้ชีวิตประจำวันร่วมกับผู้อื่นโดยรักษาสิทธิของตน เคารพสิทธิของผู้อื่น และรับผิดชอบตามบทบาทหน้าที่ของตนเอง และสิ่งแวดล้อม
      สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนกำกับตนเองในการใช้จ่ายของตนเอง และครอบครัว
      สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นใฝ่ทำความดี และอยู่ร่วมกับผู้อื่นด้วยดีบนหลักปฏิบัติของศาสนาที่นับถือ
      สถานศึกษาได้พัฒนาสื่อที่ทันสมัย สอดรับกับวิถีใหม่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน
      สถานศึกษามีการบูรณาการด้านการผลิตและการใช้สื่อการเรียนการสอนร่วมกับสถานศึกษาอื่น
      สถานศึกษาเปลี่ยนวิธีการสอนเป็น แนว Active learning และเสริมทักษะในการค้นคว้าหาความรู้กระแสหลัก กระแสรองในทางประวัติศาสตร์ให้เด็กสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
      สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนคิดเป็น วิจารณ์เนื้อหาได้ แลแสร้างองค์ความรู้ใหม่
      สถานศึกษาสามารถจัดการเรียนการสอนไม่ให้ผู้เรียนเบื่อที่จะเกิดการวิเคราะห์เรียนรู้ สิ่งรอบตัวแม้บางเนื้อหาที่ผู้เรียนเห็นในหนังสือเรียน ไม่ตรงกับความจริงที่เกิดขึ้น
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
  2) ปัญหาและอุปสรรค
     ด้านครูผู้สอน (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
           ครูขาดการพัฒนาเทคนิคและวิธีการจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับวิชาประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมืองให้น่าสนใจ
           ครูยังไม่มีความพร้อมในการนำเทคนิค วิธีการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบสื่อออนไลน์ หรือเทคโนโลยีมาประกอบการสอนวิชาประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมือง
           ครูขาดความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน Active Learning มาประยุกต์ใช้
           ครูผู้สอนมีภาระงานมาก
           อื่น ๆ (ถ้ามี) ระบุ
     ด้านการบริหารจัดการ (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
           ผู้บริหารสถานศึกษาไม่ให้ความสำคัญเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมืองให้มีความทันสมัย
           นโยบายขาดความต่อเนื่อง
           ขาดการมีส่วนร่วมระหว่างปราชญ์ชาวบ้าน ผู้ปกครอง สถานศึกษาและผู้เรียนในการสร้างการเรียนรู้เกี่ยวกับการสอนประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมืองให้มีความทันสมัย
           ผู้เรียนไม่ค่อยสนใจในการเรียนเกี่ยวกับวิชาประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมือง เพราะคิดว่าน่าเบื่อ ไม่ทันสมัย
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
     ด้านสื่อ วัสดุอุปกรณ์ (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
           บริเวณที่ตั้งของสถานศึกษาขาดแหล่งเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชุมชนท้องถิ่นที่น่าสนใจ
           ขาดสื่อ เทคโนโลยี วัสดุอุปกรณ์ที่ทันสมัยมาสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์วิถีใหม่
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
      อื่นๆ ระบุ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  

เนื่องจากสถานศึกษามีการจัดกิจกรรมในการใช้ชีวิตประจำวันที่แสดงถึงความตระหนักและเห็นคุณค่าในประวัติศาสตร์ สังคม วัฒนธรรมของครอบครัว สถานศึกษาและชุมชน  เพื่อการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนคุณครูจะต้องจัดการเรียนการสอน Active Learning นำมาประยุกต์ใช้ให้มากในกระบวนการการจัดการเรียนการสอน  อีกทั้งเพื่อการพัฒนาและกระตุ้นกระบวนต่าง ๆ ในการจัดกิจกรรมเพื่อให้เป็นเรื่องราวที่น่าสนใจ  และเกิดคุณค่าระหว่างการเรียนรู้

  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  

ต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice)     คือ  “สร้างคนดี  มีคุณภาพ”

  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
1.3 การพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภทให้มีสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล รวมทั้งการจัดการเรียนการสอน
  1) สภาพความก้าวหน้า
     (1) ครูได้รับการพัฒนาด้านสมรรถนะทางภาษาหรือไม่
           ได้รับการพัฒนา
           ไม่ได้รับการพัฒนา (ข้ามไปตอบข้อ (5)
     (2) ครูได้รับการพัฒนาด้านสมรรถนะทางภาษาโดยหน่วยงานใด
           สพฐ./สอศ./สช./กศน.
           สพป./สพม./ศธจ./กศจ.จังหวัด
           หน่วยงานภายนอก เช่น มหาวิทยาลัย
           อื่นๆ ระบุ
     (3) เมื่อได้รับการพัฒนาด้านสมรรถนะทางภาษา ได้นำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนหรือไม่
           ได้นำไปใช้ ระบุ
           ไม่ได้นำไปใช้
     (4) ครูมีการนำสมรรถนะด้านภาษาไปขยายผลให้กับครูใน/นอกสถานศึกษาหรือไม่อย่างไร
           มี ระบุ
           ไม่มี
     (5) ครูได้รับการพัฒนาด้านสมรรถนะทางด้านดิจิทัลหรือไม่
           ได้รับ
           ไม่ได้รับ (ข้ามไปตอบข้อ 2)
     (6) ครูได้รับการพัฒนาด้านสมรรถนะทางด้านดิจิทัลโดยหน่วยงานใด
           สพฐ./สอศ./สช./กศน.
           สพป./สพม./ศธจ./กศจ.จังหวัด
           หน่วยงานภายนอก เช่น มหาวิทยาลัย
           อื่นๆ ระบุ
     (7) ครูมีการนำสมรรถนะด้านดิจิทัลไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนหรือไม่อย่างไร
           มี ระบุ
           ไม่มี (ข้ามไปตอบข้อ 2)
     (8) ครูสามารถนำสมรรถนะด้านดิจิทัลไปขยายผลให้กับครูใน/นอกสถานศึกษาได้หรือไม่อย่างไร
           ได้ ระบุ
           ไม่ได้
  2) ปัญหาและอุปสรรค
     ด้านครูผู้สอน
           ครูขาดการพัฒนาสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล
           ครูขาดขวัญและกำลังใจ หรือแรงกระตุ้นพัฒนาสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล
           ครูมีภาระงานมาก
           อื่น ๆ (ถ้ามี) ระบุ
     ด้านการบริหารจัดการ
           นโยบายขาดความต่อเนื่อง
           ผู้บริหารไม่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัลของครูและบุคลากรทางการศึกษา
           ขาดงบประมาณสนับสนุน
           ขาดการนิเทศ ติดตาม
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
     ด้านสื่อ วัสดุอุปกรณ์
           ขาดสื่อ วัสดุอุปกรณ์ ที่นำมาใช้ในการพัฒนาสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล
           เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว อุปกรณ์ไม่ทันสมัย
           ขาดบุคลากรที่เชี่ยวชาญเฉพาะด้านการพัฒนาสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  
  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  

แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาของโรงเรียนมหาภาพกระจาดทองอุปถัมภ์

         4.1.ครูเข้าอบรมการจัดการเรียนการสอนทางไกล ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19)  จากสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ผ่านระบบ Zoom

         4.2.ครูเข้ารับการอบรมการจัดการเรียนการสอนผ่าน platform ต่างๆ ทางช่องทาง online

         4.3 ครูที่มีสามารถพิเศษในการใช้โปรแกรม OBS และ Application KineMaster เป็นวิทยากรให้ความรู้ครูในโรงเรียน

         4.4.ปรับเปลี่ยนรูปแบบการจัดกระบวนการเรียนรู้ให้เข้ากับสถานการณ์การแพร่ระบาดโควิด-19 โดยจัดเป็น 5 รูปแบบคือ On-Site, On-Air, Online, On-Demand, On-Hand        

          4.5.ครูสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศผ่านการทดสอบ CEFR (Common European Framework of Reference Languages) 

          การนำไปใช้

1.ครูนำความรู้ไปใช้ในการจัดทำคลิปการสอน 

2.ครูจัดการเรียนรู้ผ่าน platform ต่างๆอย่างหลากหลาย เหมาะสมตามระดับชั้น รายวิชา และความ

พร้อมของนักเรียน

3. สร้างกลุ่มการสื่อสารในรูปแบบออนไลน์ระหว่างคณะครู นักเรียน ผู้ปกครอง 

               4. โรงเรียนพัฒนา website, facebook ของโรงเรียน เพื่อการสื่อสารประชาสัมพันธ์กิจกรรมของโรงเรียน

               5. โรงเรียนมีเพจ MKJ Live เพื่อการสื่อสารเกี่ยวกับกิจกรรมการเรียนรู้และการพัฒนาผู้เรียน

               6. โรงเรียนมีเพจ Live Teaching MKJ เพื่อการนิเทศการจัดการเรียนรู้

          ผลการดำเนินงาน

                1.ครูและบุคลากรทางการศึกษาโรงเรียนมหาภาพกระจาดทองอุปถัมภ์ สามารถสื่อสารภาษาไทยได้อย่างคล่องแคล่ว และครูผู้สอนภาษาอังกฤษมีทักษะการใช้ภาษาอังกฤษอยู่ในระดับดี

                2.ครูมีนวัตกรรมเพื่อจัดการเรียนรู้อย่างหลากหลายเหมาะสมกับวัย และรายวิชา นักเรียนเกิดการเรียนรู้ตามวัตถุประสงค์

                3.นักเรียนและครูมีช่องทางการเรียนรู้ผ่านระบบออนไลน์ทุกรายวิชา ทุกระดับชั้น

                4.การจัดการเรียนรู้เกิดความต่อเนื่อง ตามสโกแลน สพฐ.ที่ว่า โรงเรียนหยุดได้แต่การเรียนรู้ต้องไม่หยุด

  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
1.4 หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (หลักเกณฑ์ PA)
  1) สภาพความก้าวหน้า
     (1) ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ ว.9 (PA) และวิธีการอยู่ในระดับใด
           มากที่สุด
           มาก
           ปานกลาง
           น้อย
           น้อยที่สุด
     (2) ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการชี้แจงหรือหาความรู้เกี่ยวกับหลักเกณฑ์ ว.9 (PA) จากแหล่งใด (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
           เว็ปไซต์ สำนักงาน ก.ค.ศ.
           หน่วยงานต้นสังกัดชี้แจง
                สพฐ. (สพป./สพม.)
                สอศ.
                กศน.
                สช.
           เพื่อนร่วมงาน
           สื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ
           เว็ปไซต์ อาทิ ครูบ้านนอกดอทคอม, ครูไทย, ครูวันดีดอทคอม, สถานนีครูดอทคอม
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
     (3) ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีข้อคิดเห็นอย่างไรเกี่ยวกับข้อตกลงในการพัฒนางานตามหลักเกณฑ์ ว.9 (PA)..... (ข้อความ)
     

1  เป็นการเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับวิชาชีพครู  เพื่อให้ครูได้พัฒนาตนเองให้มีศักยภาพสูงขึ้นตามระดับวิทยฐานะ  และทำให้กระบวนการพัฒนาเกิดขึ้นจากกระบวนการจัดการเรียนรู้และการจัดการชั้นเรียน

2  ครูและผู้บริหารเข้าถึงห้องเรียนมากขึ้น  ทำให้ได้รับทราบสภาพปัญหาและความต้องการของแต่ละห้องเรียน  สามารถนำมากำหนดแผนพัฒนาสถานศึกษาเพื่อยกระดับคุณภาพการศึกษาได้อย่างมีประสิทธิภาพ 

3  การประเมินผลการพัฒนางาน  ทำให้ข้าราชการครูได้ทราบถึงจุดแข็งและจุดที่ควรพัฒนา  ซึ่งจะทำให้มีแนวทางในการพัฒนาตนเองที่ชัดเจน  และสามารถนำผลการพัฒนามาใช้ให้เกิดประโยชน์กับการจัดการเรียนรู้และการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียน


  2) ปัญหาและอุปสรรค
      ด้านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ระบุ ระยะเวลาการประเมินผลการปฏิบัติงานของข้าราชการครู เป็นการประเมินรอบปีการศึกษา ส่วนระยะเวลาในการดำเนินการตามหลักเกณฑ์ ว.9 (PA) เป็นรอบปีงบประมาณ จึงทำให้กรอบระยะเวลาการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทายกับระยะเวลาการประเมินผลการปฏิบัติงานไม่สอดคล้องกัน
      ด้านการประเมินวิทยฐานะ ระบุ ประสบการณ์ / รูปแบบการจัดทำไฟล์ วีดีทัศน์ บันทึกการสอน
      ด้านการเปลี่ยนหลักเกณฑ์การประเมินบ่อย ทำให้มีความยุ่งยากในการเตรียมเอกสารหลักฐานรองรับการประเมิน ระบุ ครูขาดความรู้ความเข้าใจที่ชัดเจน เกี่ยวกับการดำเนินงานเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (หลักเกณฑ์PA)
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
  3) หน่วยงาน/สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร 1 ผู้บริหารและคณะครูในสถานศึกษาประชุมร่วมกัน เพื่อหาแนวทางในการปรับกระบวนการให้เกิดความชัดเจนเรื่องของระยะเวลาในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนในการทำบันทึกข้อตกลง(PA) ให้สอดคล้องกับเกณฑ์การประเมินผลการปฏิบัติงาน 2 จัดอบรม / ให้ความรู้ในเรื่องการดำเนินงานเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (หลักเกณฑ์PA) ให้กับคณะครู รวมไปถึงการเข้ารับการอบรมออนไลน์ตามหน่วยงานที่จัดขึ้น
  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับ หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (หลักเกณฑ์ PA) ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  

การนิเทศการสอนในรูปแบบออนไลน์  (ไลฟ์สด)  

เป็นการเปิดพื้นที่ให้ครูได้สร้างประสบการณ์การจัดการเรียนการสอน  โดยผ่านการใช้สื่อและเทคโนโลยี

ให้สอดคล้องกับเกณฑ์การประเมินเพื่อให้มีหรือเลื่อนวิทยฐานะ

  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินการตามหลักเกณฑ์ ว.9 (PA) อยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
1.5 การขับเคลื่อนศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) และศูนย์บริหารเครือข่ายการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา (Center of Vocational Manpower Networking Management : CVM)
  1) สภาพความก้าวหน้า
     (1) สภาพความก้าวหน้า ความสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบาย (มีเกณฑ์ตัวชี้วัดการประเมิน หรือตัวเลือกประเด็นหรือกิจกรรมที่ปฏิบัติในนโยบายนี้ เพื่อประกอบความก้าวหน้าความสำเร็จ)
          กลุ่มทั่วไป (Standard) สาขาวิชา
          
          กลุ่มเชี่ยวชาญเฉพาะ (Expert) สาขาวิชา
          
          กลุ่มความเป็นเลิศ) (Excellent Center) สาขาวิชา
          
          กลุ่มศูนย์บริหารเครือข่ายการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา (Center of Vocational Manpower Networking Management : CVM) สาขาวิชา
          
     (2) สถานศึกษามีผลการประเมินคุณภาพตามแนวทางการขับเคลื่อนศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) และศูนย์บริหารเครือข่ายการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา (Center of Vocational Manpower Networking Management : CVM) อยู่ในระดับใด
           ดีมาก
           ดี
           ปานกลาง
           พอใช้
     (3) เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
           สถานศึกษามีนวัตกรรมการบริหารจัดการสอดคล้องกับสภาพบริบท และตอบสนองความต้องการของชุมชน สังคม และยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ
           มีครุภัณฑ์และอุปกรณ์ สื่อ เทคโนโลยีดิจิทัล ทรัพยากร สิ่งสนับสนุนการศึกษา ที่เพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอน
           สถานศึกษามีภาคีเครือข่ายความร่วมมือกับองค์กรทางวิชาชีพ สถานประกอบการ สถาบันการศึกษาอาชีวศึกษา/อุดมศึกษาทั้งในประเทศหรือต่างประเทศ ในการพัฒนาทักษะทางวิชาการ ทักษะอาชีพ และการฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพของครู และผู้เรียน
           หลักสูตรมีความสอดคล้องกับมาตรฐานอาชีพตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ เชื่อมโยงสมรรถนะอาชีพในการท างานสู่ระบบคุณวุฒิทางการศึกษา หรือมาตรฐานอาชีพตามที่หน่วยงานซึ่งมีหน้าที่ให้การรับรองมาตรฐานกำหนดไว้ ในสาขาวิชาที่มีความเป็นเลิศ
           ครูมีสมรรถนะทางวิชาชีพที่ทันสมัย สอดคล้องกับเทคโนโลยีที่สถานประกอบการใช้ในปัจจุบัน ตลอดจนมีทักษะการจัดกระบวนการจัดการเรียนรู้
           ผู้เรียนมีสมรรถนะทางวิชาชีพในสาขาวิชาที่มีความเป็นเลิศ ตรงกับความต้องการของสถานประกอบการ
           สถานศึกษาเป็นศูนย์พัฒนาอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการ การประเมินสมรรถนะบุคคลตามมาตรฐานอาชีพในสาขาอาชีพที่สอดคล้องกับสาขาวิชา ที่มีความเป็นเลิศ ให้กับผู้เรียน ผู้สำเร็จการศึกษา ผู้ประกอบอาชีพ หรือ ประชาชนทั่วไป เพื่อสร้างโอกาสการเข้าสู่โลกอาชีพและการมีงานทำ
           สถานศึกษามีระบบประกันคุณภาพที่เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา เหมาะสมกับหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน สื่อเทคโนโลยี ทรัพยากรการเรียนรู้ และการประเมินการเรียนการสอน โดยมีการกำกับ ติดตาม และประเมินผลเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      มาตรฐานอาชีพหรือมาตรฐานฝีมือแรงงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ไม่ครอบคลุมสาขาวิชา
      นโยบายขาดความต่อเนื่อง
      ครูผู้สอนมีวุฒิการศึกษาวิชาชีพ ไม่ตรงตามสาขาวิชาที่สอน
      ขาดห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ครุภัณฑ์/อุปกรณ์ สื่อ ในการจัดการเรียนการสอนที่ทันสมัย
      ผู้เรียนมีสมรรถนะไม่ตรงตามหลักสูตรกำหนด กับความต้องการของสถานประกอบการ
      สถานศึกษาขาดการเตรียมความพร้อมตามแนวทางการจัดการสถานศึกษา ภายใต้ศูนย์
      ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) และศูนย์บริหารเครือข่ายการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา (Center of Vocational Manpower Networking Management : CVM) ในการประเมินสมรรถนะผู้เรียนและการรับรองที่เอื้อต่อการพัฒนารายบุคคล
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  
  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  
  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
1.6 ความปลอดภัยของผู้เรียน โดยการสร้างสถานศึกษาปลอดภัย และบริหารจัดการเชิงบูรณาการในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  1) สภาพความก้าวหน้า
     1) ครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการส่งเสริม สนับสนุน ให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างภูมิคุ้มกัน พร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงและภัยคุกคามรูปแบบใหม่ ทุกรูปแบบ
           ครบทุกประเภทภัยคุกคาม
           บางประเภทภัยคุกคาม
                ภัยยาเสพติด
                ภัยความรุนแรง
                ภัยพิบัติต่างๆ
                อุบัติเหตุ
                โรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำ (เช่น CVID-19 เป็นต้น)
                ฝุ่น PM 2.5
                การค้ามนุษย์
                การคุกคามในชีวิตและทรัพย์สิน
                อาชญากรรมไซเบอร์
           ไม่มี
     2) การบริหารจัดการเชิงบูรณาการในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สถานศึกษาได้ดำเนินงานหรือได้รับความช่วยเหลือจากหน่วยงานใดบ้าง (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
           กระทรวงศึกษาธิการ
           กระทรวงสาธารณสุข
           กรมการปกครอง
           ภาคเอกชน
           อื่นๆ (ระบุ)
     3) สถานศึกษามีการบริหารจัดการเชิงบูรณาการในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) อย่างไรบ้าง
           มี
           ไม่มี
     4) สถานศึกษามีแผนการดำเนินงาน/แผนเผชิญเหตุ/แนวทาง/คู่มือเพื่อความปลอดภัยของผู้เรียนในสถานศึกษา
           มี
           ไม่มี
     5) ผู้เรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมที่สถานศึกษาจัดเพื่อส่งเสริม สนับสนุนในการสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม พร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงและภัยคุกคามรูปแบบใหม่ทุกรูปแบบ
           ครบทุกประเภทภัยคุกคาม
           บางประเภทภัยคุกคาม
                ภัยยาเสพติด
                ภัยความรุนแรง
                ภัยพิบัติต่างๆ
                อุบัติเหตุ
                โรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำ (เช่น CVID-19 เป็นต้น)
                ฝุ่น PM 2.5
                การค้ามนุษย์
                การคุกคามในชีวิตและทรัพย์สิน
                อาชญากรรมไซเบอร์
           ไม่มี
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      ผู้บริหารขาดความตระหนักในการสร้างความรู้ความเข้าใจกับการรับมือกับภัยคุกคามรูปแบบใหม่ให้กับผู้เรียน
      ครูขาดขวัญกำลังใจ การคุ้มครองดูแลช่วยเหลือในการปฏิบัติงานภายในสถานศึกษา
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ ปัญหานักเรียนการสูบบุหรี่ ที่เกิดจากการอยากรู้อยากลอง และการชักชวนจากเพื่อน
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  

การจัดทําโครงการเลิกบุหรี่ ปีการศึกษา 2563 ได้รับความร่วมมือจากหน่วยงานภายนอก ผู้ปกครองของนักเรียน และภาคเอกชน โดยมีรูปแบบการจัดกิจกรรมแก้ปัญหาการเลิกบุหรี่ของนักเรียน ทํากิจกรรมควบคู่ไปกับกิจกรรมการเรียนการสอนได้ตามปกติ และทํากิจกรรมในเวลาหลังเลิกเรียน ซึ่งจัดในรูปแบบการเข้าค่ายเป็นเวลา 14 วัน

  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับความปลอดภัยของผู้เรียน โดยการสร้างสถานศึกษาปลอดภัยของสถานศึกษาท่าน ที่คิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  

การจัดทําโครงการเลิกบุหรี่

  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
2. ด้านการสร้างโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียมกันทางสังคม
2.1 การค้นหาเด็กวัยเรียนหลุดจากระบบการศึกษา และติดตามให้ความช่วยเหลือเข้าสู่ระบบการศึกษา
  1) สภาพความก้าวหน้า
      สถานศึกษามีการค้นพบเด็กวัยเรียนที่หลุดจากระบบการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน..............คน (ตัวเลข) 27
      การติดตามให้ความช่วยเหลือเข้าสู่ระบบการศึกษา สำหรับเด็กที่อยู่ในการศึกษาภาคบังคับ จำนวน ................คน (ตัวเลข) 6
          กศน. จำนวน................คน (ตัวเลข) 1
          อาชีวศึกษา จำนวน ...........คน (ตัวเลข) 0
      การติดตามให้ความช่วยเหลือผู้เรียนเข้าสู่ระบบการศึกษา สำหรับเด็กที่อายุเกิน 15 ปี จำนวน.............คน (ตัวเลข) 21
          กศน. จำนวน................คน (ตัวเลข) 5
          อาชีวศึกษา จำนวน ...........คน (ตัวเลข) 0
          เข้าทำงานสถานประกอบการ จำนวน...............คน (ตัวเลข) 0
          ประกอบอาชีพอื่นๆ จำนวน ................คน (ตัวเลข) 16
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ 4
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      ด้านเศรษฐกิจ รายได้ของครอบครัว
      การย้ายถิ่นฐานตามผู้ปกครอง
      ความไม่พร้อมของผู้เรียน ด้านสติปัญญา ร่างกาย ฯลฯ
      ปัญหาของครอบครัว (หย่าร้าง /แยกกันอยู่)
      การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)
      อื่นๆ (ถ้ามี)
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  

- มีการร่วมพิจารณาคัดกรองนักเรียนเพื่อรับทุนจากหน่วยงานภายนอก โดยครูประจ าชั้นแต่ละระดับและจัดสรรให้นักเรียนตามล าดับความจ าเป็น

- มีการจัดทำแผน IEP สำหรับนักเรียนที่มีความไม่พร้อมด้านการเรียนรู้เพื่อลดปัญหาการไม่ผ่าน  การตัดสินผลการเรียน (ติด 0 / ร)

  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  
  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
2.2 การดูแลเด็กปฐมวัย ด้วยการส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้พัฒนาการสมวัย ได้รับโอกาสทางการศึกษาทั้งในและนอกระบบการศึกษา
  1) สภาพความก้าวหน้า
     (1) ผู้เรียนในระดับปฐมวัย (อนุบาล 3) ปีการศึกษา 2564 ทั้งหมด
          จำนวน.............คน (ตัวเลข) จำแนกเป็น 36
          ผู้เรียนปกติ จำนวน..........คน (ตัวเลข) 36
          ผู้เรียนที่มีความบกพร่อง จำนวน.............คน (ตัวเลข) 0
     (2) ผู้เรียนปกติ มีผลการประเมินพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา ผ่านเกณฑ์การประเมินพัฒนาการคุณภาพระดับ 3 ทั้ง 4 ด้าน
          จำนวน..............คน (ตัวเลข) 35
          คิดเป็นร้อยละ........... (เทียบจากผู้เรียนปกติ) (ตัวเลข) 97.22
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      ขาดแคลนครูวิชาเอกปฐมวัย
      ครูผู้สอนระดับปฐมวัยสอนไม่ตรงวิชาเอก
      ครูไม่ครบชั้น (ครู 1 คน สอน 2 ระดับชั้น)
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ ติดต่อไม่ได้ 1 คน
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  

   - ให้คุณครูที่มีความรู้ความสามารถลงมาช่วยจัดการการเรียนรู้ในระดับปฐมวัย

   - เนื่องจากได้โทรติดต่อผู้ปกครองตามเบอร์โทรศัพท์ที่ให้ไว้ในวันรับสมัครนักเรียนแต่ไม่มีผู้รับสายครูประจำชั้นได้ลงพื้นที่  เยี่ยมบ้านตามที่อยู่ที่ให้ไว้ เพื่อนบ้านแจ้งว่าย้ายที่พักอาศัยไปแล้ว

  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการค้นหาเด็กวัยเรียนหลุดจากระบบการศึกษา และติดตามให้ความช่วยเหลือเข้าสู่ระบบการศึกษาของสถานศึกษาท่าน ที่คิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  
  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
2.3 การสร้างโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพสำหรับคนพิการ และผู้ด้อยโอกาสและผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทั้งในและนอกระบบการศึกษา
  1) สภาพความก้าวหน้า
      ผู้เรียนที่เป็นผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาสและผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทั้งในและนอกระบบการศึกษา เข้าถึงบริการการศึกษา
      ผู้เรียนที่เป็นผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาสและผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทั้งในและนอกระบบการศึกษา ได้รับการพัฒนาสมรรถภาพหรือบริการทางการศึกษาที่เหมาะสมตามความจำเป็น โปรดระบุรายละเอียด             สถานศึกษามีการจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program : IEP) สำหรับเด็กพิการเรียนรวม (9 ประเภท) และผ่านเกณฑ์การประเมินระบบการจัดการศึกษา
      สถานศึกษามีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนและบริหารจัดการสถานศึกษาที่มีประสิทธิภาพ สามารถลดจำนวนเด็กด้อยโอกาส โดยให้เด็กทุกคนสามารถเข้าถึงและส่งเสริมเด็กด้อยโอกาสให้ได้รับการศึกษาเต็มตามศักยภาพ
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      สถานศึกษา/ผู้รับผิดชอบงานการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการและผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ขาดความเชี่ยวชาญ ความชำนาญเฉพาะด้าน
      ผู้ปกครองบางส่วนขาดความรู้ ความเข้าใจและมีเจตคติที่ไม่ดีต่อความบกพร่องของเด็กและการส่งเด็กเข้ารับการพัฒนาในสถานศึกษา
      การพัฒนาและส่งเสริมผู้เรียน เป็นไปได้ยาก เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื่อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  

- ครูประจำชั้นให้ความรู้ความเข้าใจผู้ปกครอง ในเรื่องความบกพร่อง

ของเด็กเป็นรายบุคคล เพื่อเข้ารับการพัฒนา เป็นรายบุคคล โดยใช้แผนIEP

- สถานศึกษาส่งครูและผู้รับผิดชอบงานการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการและผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ เข้าร่วมอบรมเชิงปฏิบัติการและขอคำแนะนำจากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาตนเอง  และนำสู่กระบวนการจัดการเรียนรู้ที่เหมาะสมกับผู้เรียนเป็นรายบุคคล


  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการสร้างโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพสำหรับคนพิการและผู้ด้อยโอกาสและผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทั้งในและนอกระบบการศึกษาของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
     5) ท่านมีความพึงพอใจอยู่ในระดับใดของการดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนปฐมวัย
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
3. ด้านความร่วมมือ
3.1 การจัดการศึกษาแบบทวิภาคีสู่คุณภาพมาตรฐาน ผ่านศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่
  1) สภาพความก้าวหน้า
     ตามแนวทางปฏิบัติจัดการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
          ความร่วมมือกับสถานประกอบการ
                ไม่มีความร่วมมือ
                มีความร่วมมือ
                     ในพื้นที่บริการ
                     นอกพื้นที่บริการ/นอกจังหวัด
                     ต่างประเทศ
          ความร่วมมือกับสถานประกอบการในการจัดการศึกษาระบบทวิภาคี
                ไม่มีความร่วมมือ
                มีความร่วมมือกับสถานประกอบการอย่างเข้มข้น
                     การพัฒนาหลักสูตร
                     การพัฒนาครู
                     การพัฒนานักเรียนนักศึกษา
                     การสนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา
     (1) ด้านคุณภาพหลักสูตร
          (1.1) ด้านการพัฒนาหลักสูตรรายวิชา ระดับคุณภาพในการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะรายวิชาที่สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการ อยู่ในระดับใด
                ดีมาก
                ดี
                ปานกลาง
                ปรับปรุง
          (1.2) ด้านการบริหารจัดการหลักสูตร ระดับคุณภาพในการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง อยู่ในระดับใด
                ดีมาก
                ดี
                ปานกลาง
                ปรับปรุง
          (1.3) ด้านทรัพยากรการจัดอาชีวศึกษา ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และพื้นที่ อยู่ในระดับใด
                ดีมาก
                ดี
                ปานกลาง
                ปรับปรุง
          (1.4) ด้านคุณภาพผู้สำเร็จการศึกษา ผ่านเกณฑ์การทดสอบมาตรฐานวิชาชีพของสถานศึกษาและหน่วยงานภายนอก อยู่ในระดับใด
                ดีมาก
                ดี
                ปานกลาง
                ปรับปรุง
          (1.5) ด้านคุณภาพผู้สำเร็จการศึกษา ระบบทวิภาคีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระ อยู่ในระดับใด
                ดีมาก
                ดี
                ปานกลาง
                ปรับปรุง
     (2) ด้านคุณภาพผู้สำเร็จการศึกษา
          (2.1) ด้านทักษะและความสามารถในการปฏิบัติงาน ผู้เรียนชั้นปีสุดท้ายที่มีคุณลักษณะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพ (VQ) อยู่ในระดับใด
                ดีมาก
                ดี
                ปานกลาง
                ปรับปรุง
          (2.2) ด้านทักษะและความสามารถในการปฏิบัติงาน ผู้เรียนผ่านการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง อยู่ในระดับใด
                ดีมาก
                ดี
                ปานกลาง
                ปรับปรุง
          (2.3) ด้านความพึงพอใจของสถานประกอบการที่มีต่อคุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษา อยู่ในระดับใด
                ดีมาก
                ดี
                ปานกลาง
                ปรับปรุง
  2) ปัญหาและอุปสรรค
     ด้านครูผู้สอน
           ครูไม่เข้าใจการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
           ครูขาดขวัญและกำลังใจ การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
           อื่น ๆ (ถ้ามี) ........................................ (ข้อความ)
     ด้านการบริหารจัดการ
           สถานศึกษามีการปรับเปลี่ยนผู้บริหารบ่อย ทำให้ขาดความต่อเนื่อง
           ผู้เรียน และผู้ปกครองไม่เข้าใจการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
           สถานประกอบการมีข้อจำกัดในการรับผู้เรียนเข้ารับการฝึกวิชาชีพ
           อื่นๆ (ถ้ามี)............................................... (ข้อความ)
     ด้านผู้เรียน
           ผู้เรียนขาดทักษะ Sft Skill
           ผู้เรียนไม่ปรับตัวเข้ากับสถานประกอบการ
           ผู้เรียนเลือกฝึกวิชาชีพใกล้บ้าน ซึ่งไม่ตรงกับสาขาวิชาที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด
           ค่าใช้จ่ายในการฝึกวิชาชีพ
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
      อื่นๆ ระบุ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  
  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีสู่คุณภาพมาตรฐาน ผ่านศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่ของสถานศึกษาท่าน ที่คิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  
  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
3.2 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทุกช่วงวัย โดยการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย และสร้างการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อการพัฒนาทักษะอาชีพ โดยการเพิ่มพูนทักษะ (Re-skill) พัฒนาทักษะ (Up skill) และการเรียนรู้ทักษะใหม่ (New skills)
  1) สภาพความก้าวหน้า
     ด้านหลักสูตร
           หลักสูตรเพื่อการพัฒนาอาชีพ Re-skill/Up-Skill/New skills
               จำนวน.................หลักสูตร (ตัวเลข) 1
               จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนา .....................คน (ตัวเลข) 348
           หลักสูตรกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม
               จำนวน.................หลักสูตร (ตัวเลข)
               จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนา .....................คน (ตัวเลข)
           หลักสูตรกลุ่มอาชีพความคิดสร้างสรรค์
               จำนวน.................หลักสูตร (ตัวเลข)
               จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนา .....................คน (ตัวเลข)
           หลักสูตรกลุ่มอาชีพอุตสาหกรรม
               จำนวน.................หลักสูตร (ตัวเลข)
               จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนา .....................คน (ตัวเลข)
           หลักสูตรกลุ่มอาชีพเฉพาะทาง
               จำนวน.................หลักสูตร (ตัวเลข) 1
               จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนา .....................คน (ตัวเลข) 39
           อื่นๆ ระบุ
               จำนวน.................หลักสูตร (ตัวเลข)
               จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนา .....................คน (ตัวเลข)
     ด้านกระบวนการพัฒนา
           แบบอบรม/สัมมนา แบบรวมกลุ่ม มีวิทยากรบรรยาย
           แบบสื่อออนไลน์ ผ่านระบบ Zm หรือแอพพลิเคชั่นต่างๆ
           แบบเรียนรู้ด้วยตัวเอง
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ เรียนในสถานประกอบการ
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      ระยะเวลาในการพัฒนาไม่สัมพันธ์กับงบประมาณที่จัดสรร
      นโยบายขาดความต่อเนื่อง
      ขาดการมีส่วนร่วม
      ขาดบุคลากรที่มีความชำนาญเฉพาะด้านในแต่ละหลักสูตร
      วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือในการพัฒนาไม่เพียงพอ และไม่ทันสมัย
      รูปแบบการพัฒนายังยึดติดกับเนื้อหามากกว่าทักษะกระบวนการ
      อื่นๆ ระบุ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  

การจัดการศึกษารายวิชาเพิ่มเติมที่ออกไปศึกษาในสถานประกอบการ สถานศึกษาได้

ดําเนินการจัดการศึกษาตั้งแต่ปีการศึกษา 2561 จนกระทั่งถึงปัจจุบันทั้งนี้เนื่องด้วยการเกิดการแพร่ระบาดของเชื้อโรคโคโรน่าไวรัส 2019 ทําให้กิจกรรมการเรียนการสอนในรายวิชาเพิ่มเติมซึ่งเป็นรายวิชาที่จัดตามความต้องการ ความสนใจ และความสามารถของผู้เรียน ยังไม่ประสบความสําเร็จมากเท่าที่ควร ส่งผลให้จํานวนนักเรียนที่ออกฝึกประสบการณ์ในสถานประกอบการลดลงเป็นจํานวนมากในปีการศึกษานี้ ซึ่งแนวทางการแก้ไขปัญหาดังกล่าว ทางสถานศึกษาจึงได้ผู้จัดกระบวนการเรียนรู้ให้กับนักเรียน และเป็นการเปิดโอกาสให้กับผู้ปกครองได้เป็นผู้ถ่ายทอดกระบวนการเรียนรู้ สามารถให้นักเรียนได้ฝึกประสบการณ์ต่างๆ จากครัวเรือน ในส่วนการวัดผลประเมินผลจะมีการร่วมระหว่างครูผู้รับผิดชอบร่วมกับผู้ปกครองหรือผู้ที่อนุเคราะห์ดูแลและถ่ายทอดกระบวนการเรียนรู้ด้วยสําหรับในส่วนรูปแบบการพัฒนาที่เมื่อจัดกระบวนการดังกล่าว ครูผู้สอนที่มีความชํานาญในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนนั้นยังติดกับเนื้อหามากกว่าทักษะกระบวนการ แนวทางที่ต้องดําเนินการสร้างความตระหนักและเพื่อให้สอดคล้องกับการจัดการศึกษาปัจจุบัน ต้องเน้นการจัดกระบวนการเรียนรู้ทางด้านทักษะกระบวนการ โดยใช้รูปแบบการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning

  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่านที่คิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี)** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  

แนวทางการดําเนินงานเกี่ยวกับการนํานวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจําวันของสถานศึกษา จัดการเรียนการสอนโดยการออกฝึกประสบการณ์วิชาชีพของแต่ละสถานประกอบการ เนื่องด้วยตามนโยบายการพัฒนาการทุกช่วงวัย ซึ่งสถานศึกษาจัดกิจกรรมให้เหมาะสมทุกช่วงวัย จัดการเรียนรู้ที่หลากหลายและสร้างการเรียนรู้ตลอดชีวิต และเพื่อพัฒนาทักษะอาชีพ ทั้งนี้โดยการเพิ่มพูนทักษะ พัฒนาทักษะและการเรียนรู้ทักษะใหม่ๆ

https://drive.google.com/drive/folders/1VKDqLr08kWj7CgsI9bNPYwNe1lexr3xE

  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
4. ด้านเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
4.1 การนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วมและการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน
  1) สภาพความก้าวหน้า
     (1) การนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน
          (1.1) การนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษา
                สถานศึกษามีการจัดทำ/นำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษา ทุกระดับการศึกษา ระบุ จัดทําสื่อวิดีโอการสอน การใช้สื่อสังคมออนไลน์Zoom ,Line , Facebook, Google classroom, Google Meet , Tiktok สร้างใบงานออนไลน์ด้วย ViveWorkSheet เป็นต้น
                ครูได้รับการพัฒนาการจัดทำสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยและนำมาปรับใช้ในการเรียนการสอน
                สถานศึกษามีการส่งเสริม สนับสนุน โดยการจัดการเรียนการสอน/กิจกรรม เพื่อให้ผู้เรียนได้รับ การส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน
     (2) รูปแบบการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษาภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
           On-Site (การจัดการเรียนการสอนตามปกติ)
           On Air (การเรียนการสอนผ่านทีวี/ผ่านระบบดาวเทียม/ระบบเคเบิลทีวี/ระบบ IPTV/ระบบ Zoom)
           Online (การเรียนการสอนผ่านอินเตอร์เน็ต)
           On Hand (การจัดการเรียนการสอนโดยนำหนังสือ แบบฝึกหัด ใบงาน ไปเรียนรู้ที่บ้านภายใต้ความช่วยเหลือของผู้ปกครอง)
           On-Demand (การเรียนการสอนผ่านเว็บไซต์ DLTV ช่อง Youtube และแอพลิเคชัน DLTV บนสมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ต และอื่นๆ)
           รูปแบบผสมผสาน ระบุ On-site และOnline
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      ครูขาดการพัฒนาในการจัดทำสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยและนำมาปรับใช้ในการเรียนการสอน
      ครูไม่มีความชำนาญในการใช้สื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัย
      ผู้เรียนขาดแคลนอุปกรณ์และการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต สำหรับการเรียนการสอน
      ผู้เรียนขาดการมีส่วนร่วมในการเรียน
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  

- ครูจัดทําสื่อการเรียนรู้ให้นักเรียนสามารถเรียนย้อนหลังได้ตลอดเวลา

- ขยายเวลาการส่งงาน เพื่อให้นักเรียนมีโอกาสเรียนรู้อย่างเท่าเทียม

- จัดอบรมพัฒนาครูในการจัดทําสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยเพื่อนํามาใช้ในการเรียนการสอน


  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  


1. คณะครูมีการเข้าร่วมอบรมพัฒนาตนเองอย่างสม่ำเสมอ

2. การเรียนรู้หลายรูปแบบ

3. จัดทำสื่อการสอนที่หลากหลาย

4. ใช้เทคโนโลยีอย่างมีประสิทธิภาพ

- มีอินเทอร์เน็ตครบทุกอาคารเรียน

- มีโทรทัศน์ทุกห้องเรียน

- คอมพิวเตอร์สนับสนุนในห้องเรียน

                            - ใช้สื่อ DLTV มาสนับสนุน

  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
Connect Error (1049) Unknown database 'db_sp_onet'