ข้อมูลพื้นฐาน
รหัสโรงเรียน (MOE Code) : 1083400029
โรงเรียน : ราชประชานุเคราะห์ 36
เขตพื้นที่ : สำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
จังหวัด : ภูเก็ต
สังกัด : สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เขตตรวจราชการ : 6

การลงตรวจพื้นที่

รายงานการลงพื้นที่ตรวจราชการและติดตามประเมินผลการขับเคลื่อนนโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

1. ด้านการพัฒนาครูและการจัดการเรียนการสอน
1.1 การจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนทุกระดับมีส่วนร่วมสร้างสรรค์การเรียนรู้ เพื่อให้เกิดสมรรถนะหลักและการพัฒนาตนเองตามความถนัดและความสนใจ (Active Learning)
  1) สภาพความก้าวหน้า
     การนำไปใช้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา ระบุ
     

โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๖ จังหวัดภูเก็ตจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนทุกระดับมีส่วนร่วมสร้างสรรค์การเรียนรู้ เพื่อให้เกินสมรรถนะหลัก และการพัฒนาตนเองตามความถนัดและความสนใจ (Active Learning) โดยใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560) โดยสถานศึกษาสามารถดำเนินการตามศักยภาพความพร้อมและจุดเน้นของสถานศึกษา ดังนี้

1.1)             หลักสูตรการศึกษาปฐมวัย

1.2)             หลักสูตรประถมศึกษา ชั้นประถมศึกษา เป็นลักษณะ โครงการห้องเรียน EIS (English For Integrated Studies) “เป็นหลักสูตรสถานศึกษาที่สอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานของกระทรวงศึกษาธิการ จัดการเรียนการสอนรายวิชาคณิตศาสตร์  วิทยาศาสตร์ และคอมพิวเตอร์ โดยใช้ภาษาอังกฤษเป็นการสื่อสาร”

1.3)             หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนต้น

1.4)             หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย ประกอบด้วย

(1)    แผนการเรียนคณิตศาสตร์ – วิทยาศาสตร์

(2)    แผนการเรียนศิลป์ – อาชีพ

(3)    แผนการเรียนทวิภาคี สาขาวิชาธุรกิจค้าปลีก

     การนำไปใช้ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนระบุ
     

อยู่ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดไวรัสโคโรน่ากิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโรงเรียนยังไม่ได้ดำเนินการเพื่อป้องกันและปฏิบัติตามมาตรการเว้นระยะห่างและการร่วมกิจกรรม

     อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
     
  2) ปัญหาและอุปสรรค
     ด้านครูผู้สอน
           ครูไม่ได้รับการอบรม/พัฒนาวิธีการจัดการเรียนการสอน แบบ Active Learning
           ครูขาดขวัญ กำลังใจ หรือแรงกระตุ้นในการจัดการเรียนการสอน
           ครูขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning
           ครูมีภาระงานมาก
           อื่น ๆ (ถ้ามี) ระบุ
     ด้านการบริหารจัดการ
           ผู้บริหารไม่ให้ความสำคัญกับการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning
           นโยบายขาดความต่อเนื่อง
           ขาดการมีส่วนร่วม
           ขาดการนิเทศ ติดตาม หรือผู้ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
     ด้านสื่อ วัสดุอุปกรณ์
           ขาดสื่อ วัสดุอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอนของผู้เรียน
           เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว อุปกรณ์ไม่ทันสมัย
           ขาดผู้ดูแล หรือซ่อมแซมสื่อ วัสดุอุปกรณ์
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
     อื่นๆ ระบุ อยู่ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดไวรัสโคโรน่ากิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโรงเรียนยังไม่ได้ดำเนินการเพื่อป้องกันและปฏิบัติตามมาตรการเว้นระยะห่างและการร่วมกิจกรรม
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  

ปฏิบัติตามมาตรการของจังหวัดเพื่อป้องกันความปลอดภัย

  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  

ไม่มี

  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
1.2 การจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมืองให้มีความทันสมัยสอดรับกับวิถีใหม่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของท้องถิ่น และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง
  1) สภาพความก้าวหน้า
      สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมในการใช้ชีวิตประจำวันที่แสดงถึงความตระหนักและเห็นคุณค่าในประวัติศาสตร์ สังคม วัฒนธรรมของครอบครัว สถานศึกษาและชุมชน
      สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนใช้ชีวิตประจำวันร่วมกับผู้อื่นโดยรักษาสิทธิของตน เคารพสิทธิของผู้อื่น และรับผิดชอบตามบทบาทหน้าที่ของตนเอง และสิ่งแวดล้อม
      สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนกำกับตนเองในการใช้จ่ายของตนเอง และครอบครัว
      สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นใฝ่ทำความดี และอยู่ร่วมกับผู้อื่นด้วยดีบนหลักปฏิบัติของศาสนาที่นับถือ
      สถานศึกษาได้พัฒนาสื่อที่ทันสมัย สอดรับกับวิถีใหม่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน
      สถานศึกษามีการบูรณาการด้านการผลิตและการใช้สื่อการเรียนการสอนร่วมกับสถานศึกษาอื่น
      สถานศึกษาเปลี่ยนวิธีการสอนเป็น แนว Active learning และเสริมทักษะในการค้นคว้าหาความรู้กระแสหลัก กระแสรองในทางประวัติศาสตร์ให้เด็กสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
      สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนคิดเป็น วิจารณ์เนื้อหาได้ แลแสร้างองค์ความรู้ใหม่
      สถานศึกษาสามารถจัดการเรียนการสอนไม่ให้ผู้เรียนเบื่อที่จะเกิดการวิเคราะห์เรียนรู้ สิ่งรอบตัวแม้บางเนื้อหาที่ผู้เรียนเห็นในหนังสือเรียน ไม่ตรงกับความจริงที่เกิดขึ้น
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
  2) ปัญหาและอุปสรรค
     ด้านครูผู้สอน (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
           ครูขาดการพัฒนาเทคนิคและวิธีการจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับวิชาประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมืองให้น่าสนใจ
           ครูยังไม่มีความพร้อมในการนำเทคนิค วิธีการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบสื่อออนไลน์ หรือเทคโนโลยีมาประกอบการสอนวิชาประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมือง
           ครูขาดความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน Active Learning มาประยุกต์ใช้
           ครูผู้สอนมีภาระงานมาก
           อื่น ๆ (ถ้ามี) ระบุ
     ด้านการบริหารจัดการ (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
           ผู้บริหารสถานศึกษาไม่ให้ความสำคัญเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมืองให้มีความทันสมัย
           นโยบายขาดความต่อเนื่อง
           ขาดการมีส่วนร่วมระหว่างปราชญ์ชาวบ้าน ผู้ปกครอง สถานศึกษาและผู้เรียนในการสร้างการเรียนรู้เกี่ยวกับการสอนประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมืองให้มีความทันสมัย
           ผู้เรียนไม่ค่อยสนใจในการเรียนเกี่ยวกับวิชาประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมือง เพราะคิดว่าน่าเบื่อ ไม่ทันสมัย
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
     ด้านสื่อ วัสดุอุปกรณ์ (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
           บริเวณที่ตั้งของสถานศึกษาขาดแหล่งเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชุมชนท้องถิ่นที่น่าสนใจ
           ขาดสื่อ เทคโนโลยี วัสดุอุปกรณ์ที่ทันสมัยมาสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์วิถีใหม่
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
      อื่นๆ ระบุ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  

พัฒนาครูให้ศึกษาค้นคว้าพัฒนากระบวนการจัดการเรียนรู้โดยการใช้สื่อใช้บทเรียนที่เกิดขึ้น

  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  

ในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน ตั้งแต่ชั้นประถมศึกษาปีที่ 1 – มัธยมศึกษาปีที่ 6 ได้กำหนดให้วิชาประวัติศาสตร์เป็นรายวิชาพื้นฐาน (วิชาบังคับ) ในสาระประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ. 2551 ซึ่งผู้เรียนจะได้เรียนรู้เนื้อหาในเรื่องเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์ พัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตถึงปัจจุบัน ความสัมพันธ์และเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่าง ๆ ผลกระทบที่เกิดจากเหตุการณ์สำคัญในอดีต บุคคลสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ความเป็นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญาไทย และแหล่งอารยธรรมที่สำคัญของโลก อันเป็นการศึกษาอดีต

การเรียนการสอนสาระประวัติศาสตร์ พัฒนาการเรียนรู้ให้เกิดความน่าสนใจ ใช้กระบวนการเรียนรู้ที่หลากหลาย จัดกิจกรรมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์อย่างมีประสิทธิภาพ ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ สังเคราะห์ และความเป็นเหตุเป็นผลให้เกิดในตัวผู้เรียน โดยจัดเป็นวิชาเฉพาะอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 ชั่วโมง หลังจากนั้นได้มีการกำหนดจุดเน้นและพัฒนาแนวทางการจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทย ผ่านแหล่งเรียนรู้ทางประวัติศาสตร์ในท้องถิ่น การจัดทำตัวชี้วัดสำคัญต้องรู้ ควรรู้ในสาระประวัติศาสตร์ การพัฒนาวิทยากรแกนนำ การจัดการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทย และพัฒนาแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชาติไทยแบบ Active Learning

  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
1.3 การพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภทให้มีสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล รวมทั้งการจัดการเรียนการสอน
  1) สภาพความก้าวหน้า
     (1) ครูได้รับการพัฒนาด้านสมรรถนะทางภาษาหรือไม่
           ได้รับการพัฒนา
           ไม่ได้รับการพัฒนา (ข้ามไปตอบข้อ (5)
     (2) ครูได้รับการพัฒนาด้านสมรรถนะทางภาษาโดยหน่วยงานใด
           สพฐ./สอศ./สช./กศน.
           สพป./สพม./ศธจ./กศจ.จังหวัด
           หน่วยงานภายนอก เช่น มหาวิทยาลัย
           อื่นๆ ระบุ
     (3) เมื่อได้รับการพัฒนาด้านสมรรถนะทางภาษา ได้นำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนหรือไม่
           ได้นำไปใช้ ระบุ
           ไม่ได้นำไปใช้
     (4) ครูมีการนำสมรรถนะด้านภาษาไปขยายผลให้กับครูใน/นอกสถานศึกษาหรือไม่อย่างไร
           มี ระบุ
           ไม่มี
     (5) ครูได้รับการพัฒนาด้านสมรรถนะทางด้านดิจิทัลหรือไม่
           ได้รับ
           ไม่ได้รับ (ข้ามไปตอบข้อ 2)
     (6) ครูได้รับการพัฒนาด้านสมรรถนะทางด้านดิจิทัลโดยหน่วยงานใด
           สพฐ./สอศ./สช./กศน.
           สพป./สพม./ศธจ./กศจ.จังหวัด
           หน่วยงานภายนอก เช่น มหาวิทยาลัย
           อื่นๆ ระบุ
     (7) ครูมีการนำสมรรถนะด้านดิจิทัลไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนหรือไม่อย่างไร
           มี ระบุ
           ไม่มี (ข้ามไปตอบข้อ 2)
     (8) ครูสามารถนำสมรรถนะด้านดิจิทัลไปขยายผลให้กับครูใน/นอกสถานศึกษาได้หรือไม่อย่างไร
           ได้ ระบุ
           ไม่ได้
  2) ปัญหาและอุปสรรค
     ด้านครูผู้สอน
           ครูขาดการพัฒนาสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล
           ครูขาดขวัญและกำลังใจ หรือแรงกระตุ้นพัฒนาสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล
           ครูมีภาระงานมาก
           อื่น ๆ (ถ้ามี) ระบุ
     ด้านการบริหารจัดการ
           นโยบายขาดความต่อเนื่อง
           ผู้บริหารไม่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัลของครูและบุคลากรทางการศึกษา
           ขาดงบประมาณสนับสนุน
           ขาดการนิเทศ ติดตาม
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
     ด้านสื่อ วัสดุอุปกรณ์
           ขาดสื่อ วัสดุอุปกรณ์ ที่นำมาใช้ในการพัฒนาสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล
           เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว อุปกรณ์ไม่ทันสมัย
           ขาดบุคลากรที่เชี่ยวชาญเฉพาะด้านการพัฒนาสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  
  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  

ไม่มี

  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
1.4 หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (หลักเกณฑ์ PA)
  1) สภาพความก้าวหน้า
     (1) ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ ว.9 (PA) และวิธีการอยู่ในระดับใด
           มากที่สุด
           มาก
           ปานกลาง
           น้อย
           น้อยที่สุด
     (2) ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการชี้แจงหรือหาความรู้เกี่ยวกับหลักเกณฑ์ ว.9 (PA) จากแหล่งใด (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
           เว็ปไซต์ สำนักงาน ก.ค.ศ.
           หน่วยงานต้นสังกัดชี้แจง
                สพฐ. (สพป./สพม.)
                สอศ.
                กศน.
                สช.
           เพื่อนร่วมงาน
           สื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ
           เว็ปไซต์ อาทิ ครูบ้านนอกดอทคอม, ครูไทย, ครูวันดีดอทคอม, สถานนีครูดอทคอม
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
     (3) ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีข้อคิดเห็นอย่างไรเกี่ยวกับข้อตกลงในการพัฒนางานตามหลักเกณฑ์ ว.9 (PA)..... (ข้อความ)
     

ข้าราชการครู ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครู ว.9 (PA)

  2) ปัญหาและอุปสรรค
      ด้านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ระบุ
      ด้านการประเมินวิทยฐานะ ระบุ
      ด้านการเปลี่ยนหลักเกณฑ์การประเมินบ่อย ทำให้มีความยุ่งยากในการเตรียมเอกสารหลักฐานรองรับการประเมิน ระบุ
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ ข้าราชการครู ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครู ว.9 (PA)
  3) หน่วยงาน/สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๖ จังหวัดภูเก็ต ได้ดำเนินการ จัดอบรมจากผู้มีความรู้ความสามารถ ในเรื่องเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครู ว.9 (PA)
  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับ หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (หลักเกณฑ์ PA) ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  

รูปแบบ แนวทางการดำเนินงาน เกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครู ได้มีการจัดอบรมโดยวิทยากรได้พาทำในระหว่างการอบรมและมีการยกตัวอย่างจากผู้เข้าร่วมอบรม

  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินการตามหลักเกณฑ์ ว.9 (PA) อยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
1.5 การขับเคลื่อนศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) และศูนย์บริหารเครือข่ายการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา (Center of Vocational Manpower Networking Management : CVM)
  1) สภาพความก้าวหน้า
     (1) สภาพความก้าวหน้า ความสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบาย (มีเกณฑ์ตัวชี้วัดการประเมิน หรือตัวเลือกประเด็นหรือกิจกรรมที่ปฏิบัติในนโยบายนี้ เพื่อประกอบความก้าวหน้าความสำเร็จ)
          กลุ่มทั่วไป (Standard) สาขาวิชา
          

โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๖ จังหวัดภูเก็ต มีการขับเคลื่อนศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา และพัฒนานักเรียนด้านอาชีวศึกษา โดยเปิดให้นักเรียนได้เรียนในสาขาวิชาธุรกิจค้าปลีกร้านสะดวกซื้อ ระดับปวช. 1 – ปวช.3 โดยทำ MOU กับบริษัท ซีพี ออลล์ จำกัด และวิทยาลัยเทคนิคนนทบุรี เมื่อนักเรียนเรียนจบในสาขานี้นักเรียนจะได้วุฒิการศึกษา 2 วุฒิ คือ แยกเป็นวุฒิการศึกษาระดับมัธยมศึกษาปีที่ 6 และวุฒิการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) จากวิทยาลัยเทคนิคนนทบุรี แยกเป็นการจัดการศึกษา 2 แบบ ดังนี้ การจัดการศึกษารูปแบบทวิภาคี โดยบริษัทซีพีออลล์จำกัด (มหาชน) ผู้เรียนจะได้รับความรู้ในด้านการค้าปลีกอย่างครอบคลุม และครบวงจรสำหรับการบริหารโครงการธุรกิจ เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมสู่การเป็นเจ้าของธุรกิจส่วนตัว และการฝึกปฏิบัติจริงในสถานประกอบการในระหว่างเรียน

          กลุ่มเชี่ยวชาญเฉพาะ (Expert) สาขาวิชา
          
          กลุ่มความเป็นเลิศ) (Excellent Center) สาขาวิชา
          
          กลุ่มศูนย์บริหารเครือข่ายการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา (Center of Vocational Manpower Networking Management : CVM) สาขาวิชา
          
     (2) สถานศึกษามีผลการประเมินคุณภาพตามแนวทางการขับเคลื่อนศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) และศูนย์บริหารเครือข่ายการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา (Center of Vocational Manpower Networking Management : CVM) อยู่ในระดับใด
           ดีมาก
           ดี
           ปานกลาง
           พอใช้
     (3) เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
           สถานศึกษามีนวัตกรรมการบริหารจัดการสอดคล้องกับสภาพบริบท และตอบสนองความต้องการของชุมชน สังคม และยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ
           มีครุภัณฑ์และอุปกรณ์ สื่อ เทคโนโลยีดิจิทัล ทรัพยากร สิ่งสนับสนุนการศึกษา ที่เพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอน
           สถานศึกษามีภาคีเครือข่ายความร่วมมือกับองค์กรทางวิชาชีพ สถานประกอบการ สถาบันการศึกษาอาชีวศึกษา/อุดมศึกษาทั้งในประเทศหรือต่างประเทศ ในการพัฒนาทักษะทางวิชาการ ทักษะอาชีพ และการฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพของครู และผู้เรียน
           หลักสูตรมีความสอดคล้องกับมาตรฐานอาชีพตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ เชื่อมโยงสมรรถนะอาชีพในการท างานสู่ระบบคุณวุฒิทางการศึกษา หรือมาตรฐานอาชีพตามที่หน่วยงานซึ่งมีหน้าที่ให้การรับรองมาตรฐานกำหนดไว้ ในสาขาวิชาที่มีความเป็นเลิศ
           ครูมีสมรรถนะทางวิชาชีพที่ทันสมัย สอดคล้องกับเทคโนโลยีที่สถานประกอบการใช้ในปัจจุบัน ตลอดจนมีทักษะการจัดกระบวนการจัดการเรียนรู้
           ผู้เรียนมีสมรรถนะทางวิชาชีพในสาขาวิชาที่มีความเป็นเลิศ ตรงกับความต้องการของสถานประกอบการ
           สถานศึกษาเป็นศูนย์พัฒนาอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการ การประเมินสมรรถนะบุคคลตามมาตรฐานอาชีพในสาขาอาชีพที่สอดคล้องกับสาขาวิชา ที่มีความเป็นเลิศ ให้กับผู้เรียน ผู้สำเร็จการศึกษา ผู้ประกอบอาชีพ หรือ ประชาชนทั่วไป เพื่อสร้างโอกาสการเข้าสู่โลกอาชีพและการมีงานทำ
           สถานศึกษามีระบบประกันคุณภาพที่เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา เหมาะสมกับหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน สื่อเทคโนโลยี ทรัพยากรการเรียนรู้ และการประเมินการเรียนการสอน โดยมีการกำกับ ติดตาม และประเมินผลเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      มาตรฐานอาชีพหรือมาตรฐานฝีมือแรงงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ไม่ครอบคลุมสาขาวิชา
      นโยบายขาดความต่อเนื่อง
      ครูผู้สอนมีวุฒิการศึกษาวิชาชีพ ไม่ตรงตามสาขาวิชาที่สอน
      ขาดห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ครุภัณฑ์/อุปกรณ์ สื่อ ในการจัดการเรียนการสอนที่ทันสมัย
      ผู้เรียนมีสมรรถนะไม่ตรงตามหลักสูตรกำหนด กับความต้องการของสถานประกอบการ
      สถานศึกษาขาดการเตรียมความพร้อมตามแนวทางการจัดการสถานศึกษา ภายใต้ศูนย์
      ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) และศูนย์บริหารเครือข่ายการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา (Center of Vocational Manpower Networking Management : CVM) ในการประเมินสมรรถนะผู้เรียนและการรับรองที่เอื้อต่อการพัฒนารายบุคคล
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  
  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  
  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
1.6 ความปลอดภัยของผู้เรียน โดยการสร้างสถานศึกษาปลอดภัย และบริหารจัดการเชิงบูรณาการในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  1) สภาพความก้าวหน้า
     1) ครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการส่งเสริม สนับสนุน ให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างภูมิคุ้มกัน พร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงและภัยคุกคามรูปแบบใหม่ ทุกรูปแบบ
           ครบทุกประเภทภัยคุกคาม
           บางประเภทภัยคุกคาม
                ภัยยาเสพติด
                ภัยความรุนแรง
                ภัยพิบัติต่างๆ
                อุบัติเหตุ
                โรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำ (เช่น CVID-19 เป็นต้น)
                ฝุ่น PM 2.5
                การค้ามนุษย์
                การคุกคามในชีวิตและทรัพย์สิน
                อาชญากรรมไซเบอร์
           ไม่มี
     2) การบริหารจัดการเชิงบูรณาการในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สถานศึกษาได้ดำเนินงานหรือได้รับความช่วยเหลือจากหน่วยงานใดบ้าง (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
           กระทรวงศึกษาธิการ
           กระทรวงสาธารณสุข
           กรมการปกครอง
           ภาคเอกชน
           อื่นๆ (ระบุ)
     3) สถานศึกษามีการบริหารจัดการเชิงบูรณาการในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) อย่างไรบ้าง
           มี- การประเมินความพร้อมก่อนเปิดเรียน โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๖ จังหวัดภูเก็ต ดำเนินการประเมินตนเองในระบบ Thai Stop Covid Plus (TSC+) ของกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนเปิดเรียน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 ตามลิงก์ระบบ https://stopcovid.anamai.moph.go.th/th/school ประกอบด้วย 6 มิติ 44 ข้อ สถานศึกษาจะต้องผ่านการประเมินทั้ง 44 ข้อ (สีเขียว)
           ไม่มี
     4) สถานศึกษามีแผนการดำเนินงาน/แผนเผชิญเหตุ/แนวทาง/คู่มือเพื่อความปลอดภัยของผู้เรียนในสถานศึกษา
           มีเตรียมพร้อมไว้หากเกิดกรณีฉุกเฉิน และมีการซักซ้อมอย่างเคร่งครัด สม่ำเสมอ หากพบผู้ติดเชื้อ หรือพบว่าเป็นกลุ่มเสี่ยงสูง สถานศึกษาต้องมีความพร้อมในเรื่องสถานที่ วัสดุ อุปกรณ์ทางการแพทย์ ระบบขนส่ง ระบบการประสานงานตรงกับบุคลากรทางการแพทย์ในพื้นที่ รวมทั้งการสร้างการรับรู้ข่าวสารภายใน การคัดกรองเพื่อแบ่งกลุ่มนักเรียน ครูและบุคลากรในสถานศึกษา
           ไม่มี
     5) ผู้เรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมที่สถานศึกษาจัดเพื่อส่งเสริม สนับสนุนในการสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม พร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงและภัยคุกคามรูปแบบใหม่ทุกรูปแบบ
           ครบทุกประเภทภัยคุกคาม
           บางประเภทภัยคุกคาม
                ภัยยาเสพติด
                ภัยความรุนแรง
                ภัยพิบัติต่างๆ
                อุบัติเหตุ
                โรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำ (เช่น CVID-19 เป็นต้น)
                ฝุ่น PM 2.5
                การค้ามนุษย์
                การคุกคามในชีวิตและทรัพย์สิน
                อาชญากรรมไซเบอร์
           ไม่มี
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      ผู้บริหารขาดความตระหนักในการสร้างความรู้ความเข้าใจกับการรับมือกับภัยคุกคามรูปแบบใหม่ให้กับผู้เรียน
      ครูขาดขวัญกำลังใจ การคุ้มครองดูแลช่วยเหลือในการปฏิบัติงานภายในสถานศึกษา
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๖ จังหวัดภูเก็ต จัดการศึกษาให้กับนักเรียนทั้งในลักษณะ ไป - กลับ และอยู่ประจำ และจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับก่อนประถมศึกษา (อนุบาล) ประถมศึกษา (ป.1-6) และมัธยมศึกษา (ม.1-6) ทำให้มีอุปสรรคในการดูแลนักเรียนค่อยข้างมาก
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  

ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๖ จังหวัดภูเก็ต ใช้รูปแบบการจัดการเรียนการใช้แบบผสมผสาน (Blended Learning) รูปแบบที่ 4                การสลับช่วงมาเรียนของนักเรียน แบบเรียนทุกวัน ดังนี้

-          นักเรียนอนุบาล ให้นักเรียนเรียนอยู่ที่บ้าน โดยจะมีครูไปสอนที่บ้านพร้อมกับให้ใบกิจกรรมสำหรับนักเรียนได้ทำที่บ้าน โดยนักเรียนอยู่ในความดูแลของผู้ปกครอง

-          นักเรียนประถมศึกษาและมัธยมศึกษา สลับช่วงมาเรียน แบบเรียนทุกวัน โดยระดับประถมศึกษามาเรียนในภาคเช้า (08.00 – 12.00 น.) และระดับมัธยมศึกษามาเรียนในช่วงบ่าย (12.30 – 16.30 น.) ทั้งนี้เพื่อลดความแออัดของนักเรียน และต้องการให้นักเรียนมาเรียนทุกวันเพื่อความต่อเนื่องในการเรียน

  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับความปลอดภัยของผู้เรียน โดยการสร้างสถานศึกษาปลอดภัยของสถานศึกษาท่าน ที่คิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  

ไม่มี

  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
2. ด้านการสร้างโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียมกันทางสังคม
2.1 การค้นหาเด็กวัยเรียนหลุดจากระบบการศึกษา และติดตามให้ความช่วยเหลือเข้าสู่ระบบการศึกษา
  1) สภาพความก้าวหน้า
      สถานศึกษามีการค้นพบเด็กวัยเรียนที่หลุดจากระบบการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน..............คน (ตัวเลข) ไม่มีนักเรียนหลุดจากระบบ
      การติดตามให้ความช่วยเหลือเข้าสู่ระบบการศึกษา สำหรับเด็กที่อยู่ในการศึกษาภาคบังคับ จำนวน ................คน (ตัวเลข)
          กศน. จำนวน................คน (ตัวเลข)
          อาชีวศึกษา จำนวน ...........คน (ตัวเลข)
      การติดตามให้ความช่วยเหลือผู้เรียนเข้าสู่ระบบการศึกษา สำหรับเด็กที่อายุเกิน 15 ปี จำนวน.............คน (ตัวเลข) แต่มีนักเรียน ที่จบช่วงชั้นที่ไม่ได้เรียนต่อ โรงเรียนได้มีการติดตามนักเรียนจากข้อมูลที่มีในระบบ
          กศน. จำนวน................คน (ตัวเลข)
          อาชีวศึกษา จำนวน ...........คน (ตัวเลข)
          เข้าทำงานสถานประกอบการ จำนวน...............คน (ตัวเลข)
          ประกอบอาชีพอื่นๆ จำนวน ................คน (ตัวเลข)
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      ด้านเศรษฐกิจ รายได้ของครอบครัว
      การย้ายถิ่นฐานตามผู้ปกครอง
      ความไม่พร้อมของผู้เรียน ด้านสติปัญญา ร่างกาย ฯลฯ
      ปัญหาของครอบครัว (หย่าร้าง /แยกกันอยู่)
      การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)
      อื่นๆ (ถ้ามี)
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  

มีการให้คำปรึกษาและแนะแนวเรื่องการศึกษาต่อเพื่อให้นักเรียนได้จบการศึกษาขั้นพื้นฐาน

  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  

ไม่มี

  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
2.2 การดูแลเด็กปฐมวัย ด้วยการส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้พัฒนาการสมวัย ได้รับโอกาสทางการศึกษาทั้งในและนอกระบบการศึกษา
  1) สภาพความก้าวหน้า
     (1) ผู้เรียนในระดับปฐมวัย (อนุบาล 3) ปีการศึกษา 2564 ทั้งหมด
          จำนวน.............คน (ตัวเลข) จำแนกเป็น 10 คน
          ผู้เรียนปกติ จำนวน..........คน (ตัวเลข) 10คน
          ผู้เรียนที่มีความบกพร่อง จำนวน.............คน (ตัวเลข) ไม่มี
     (2) ผู้เรียนปกติ มีผลการประเมินพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา ผ่านเกณฑ์การประเมินพัฒนาการคุณภาพระดับ 3 ทั้ง 4 ด้าน
          จำนวน..............คน (ตัวเลข) 10
          คิดเป็นร้อยละ........... (เทียบจากผู้เรียนปกติ) (ตัวเลข) 100
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      ขาดแคลนครูวิชาเอกปฐมวัย
      ครูผู้สอนระดับปฐมวัยสอนไม่ตรงวิชาเอก
      ครูไม่ครบชั้น (ครู 1 คน สอน 2 ระดับชั้น)
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ - อุปกรณ์ในการเรียนไม่เพียงพอ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  

-                    มีการจัดอุปกรณ์การการเรียนการสอนเพิ่มเติม

  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการค้นหาเด็กวัยเรียนหลุดจากระบบการศึกษา และติดตามให้ความช่วยเหลือเข้าสู่ระบบการศึกษาของสถานศึกษาท่าน ที่คิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  

ไม่มี

  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
2.3 การสร้างโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพสำหรับคนพิการ และผู้ด้อยโอกาสและผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทั้งในและนอกระบบการศึกษา
  1) สภาพความก้าวหน้า
      ผู้เรียนที่เป็นผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาสและผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทั้งในและนอกระบบการศึกษา เข้าถึงบริการการศึกษา
      ผู้เรียนที่เป็นผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาสและผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทั้งในและนอกระบบการศึกษา ได้รับการพัฒนาสมรรถภาพหรือบริการทางการศึกษาที่เหมาะสมตามความจำเป็น โปรดระบุรายละเอียด      

โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๖ จังหวัดภูเก็ต มีผู้เรียนกลุ่มพิการทั้งหมด 3 ประเภท จำนวน     66 คน ได้แก่

-          ประเภทบกพร่องทางสติปัญญา  จำนวน        3        คน

-          ประเภทบกพร่องทางการเรียนรู้  จำนวน        63       คน

-          ประเภทบุคคลออทิสติก           จำนวน        1        คน

มีการจัดการเรียนการสอนให้นักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษให้มีการเรียนรวมกับนักเรียนปกติ โดยที่คุณครูผู้สอนมีการจัดทำแผนการสอนเฉพาะบุคคล (IEP) และแผน(IIP) สำหรับนักเรียนดังกล่าว

      สถานศึกษามีการจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program : IEP) สำหรับเด็กพิการเรียนรวม (9 ประเภท) และผ่านเกณฑ์การประเมินระบบการจัดการศึกษา
      สถานศึกษามีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนและบริหารจัดการสถานศึกษาที่มีประสิทธิภาพ สามารถลดจำนวนเด็กด้อยโอกาส โดยให้เด็กทุกคนสามารถเข้าถึงและส่งเสริมเด็กด้อยโอกาสให้ได้รับการศึกษาเต็มตามศักยภาพ
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      สถานศึกษา/ผู้รับผิดชอบงานการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการและผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ขาดความเชี่ยวชาญ ความชำนาญเฉพาะด้าน
      ผู้ปกครองบางส่วนขาดความรู้ ความเข้าใจและมีเจตคติที่ไม่ดีต่อความบกพร่องของเด็กและการส่งเด็กเข้ารับการพัฒนาในสถานศึกษา
      การพัฒนาและส่งเสริมผู้เรียน เป็นไปได้ยาก เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื่อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ ในการจัดการเรียนการสอน นักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษจะมีสมาธิในการเรียนที่น้อยกว่านักเรียนปกติ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  

มีการจัดห้องเรียนสำหรับนักเรียนเรียนรวม มีตารางการสอนเสริมสำหรับนักเรียนประเภทนี้มีการสนับสนุนทุนการศึกษา จากหน่วยงานภายนอกและมีการติดตามข้อมูลของนักเรียนจากผู้ปกครองอย่างต่อเนื่อง

  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการสร้างโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพสำหรับคนพิการและผู้ด้อยโอกาสและผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทั้งในและนอกระบบการศึกษาของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  

ไม่มี

  5) ท่านมีความพึงพอใจอยู่ในระดับใดของการดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนปฐมวัย
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
3. ด้านความร่วมมือ
3.1 การจัดการศึกษาแบบทวิภาคีสู่คุณภาพมาตรฐาน ผ่านศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่
  1) สภาพความก้าวหน้า
     ตามแนวทางปฏิบัติจัดการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
          ความร่วมมือกับสถานประกอบการ
                ไม่มีความร่วมมือ
                มีความร่วมมือ
                     ในพื้นที่บริการ
                     นอกพื้นที่บริการ/นอกจังหวัด
                     ต่างประเทศ
          ความร่วมมือกับสถานประกอบการในการจัดการศึกษาระบบทวิภาคี
                ไม่มีความร่วมมือ
                มีความร่วมมือกับสถานประกอบการอย่างเข้มข้น
                     การพัฒนาหลักสูตร
                     การพัฒนาครู
                     การพัฒนานักเรียนนักศึกษา
                     การสนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา
     (1) ด้านคุณภาพหลักสูตร
          (1.1) ด้านการพัฒนาหลักสูตรรายวิชา ระดับคุณภาพในการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะรายวิชาที่สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการ อยู่ในระดับใด
                ดีมาก
                ดี
                ปานกลาง
                ปรับปรุง
          (1.2) ด้านการบริหารจัดการหลักสูตร ระดับคุณภาพในการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง อยู่ในระดับใด
                ดีมาก
                ดี
                ปานกลาง
                ปรับปรุง
          (1.3) ด้านทรัพยากรการจัดอาชีวศึกษา ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และพื้นที่ อยู่ในระดับใด
                ดีมาก
                ดี
                ปานกลาง
                ปรับปรุง
          (1.4) ด้านคุณภาพผู้สำเร็จการศึกษา ผ่านเกณฑ์การทดสอบมาตรฐานวิชาชีพของสถานศึกษาและหน่วยงานภายนอก อยู่ในระดับใด
                ดีมาก
                ดี
                ปานกลาง
                ปรับปรุง
          (1.5) ด้านคุณภาพผู้สำเร็จการศึกษา ระบบทวิภาคีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระ อยู่ในระดับใด
                ดีมาก
                ดี
                ปานกลาง
                ปรับปรุง
     (2) ด้านคุณภาพผู้สำเร็จการศึกษา
          (2.1) ด้านทักษะและความสามารถในการปฏิบัติงาน ผู้เรียนชั้นปีสุดท้ายที่มีคุณลักษณะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพ (VQ) อยู่ในระดับใด
                ดีมาก
                ดี
                ปานกลาง
                ปรับปรุง
          (2.2) ด้านทักษะและความสามารถในการปฏิบัติงาน ผู้เรียนผ่านการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง อยู่ในระดับใด
                ดีมาก
                ดี
                ปานกลาง
                ปรับปรุง
          (2.3) ด้านความพึงพอใจของสถานประกอบการที่มีต่อคุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษา อยู่ในระดับใด
                ดีมาก
                ดี
                ปานกลาง
                ปรับปรุง
  2) ปัญหาและอุปสรรค
     ด้านครูผู้สอน
           ครูไม่เข้าใจการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
           ครูขาดขวัญและกำลังใจ การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
           อื่น ๆ (ถ้ามี) ........................................ (ข้อความ)
     ด้านการบริหารจัดการ
           สถานศึกษามีการปรับเปลี่ยนผู้บริหารบ่อย ทำให้ขาดความต่อเนื่อง
           ผู้เรียน และผู้ปกครองไม่เข้าใจการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
           สถานประกอบการมีข้อจำกัดในการรับผู้เรียนเข้ารับการฝึกวิชาชีพ
           อื่นๆ (ถ้ามี)............................................... (ข้อความ)
     ด้านผู้เรียน
           ผู้เรียนขาดทักษะ Sft Skill
           ผู้เรียนไม่ปรับตัวเข้ากับสถานประกอบการ
           ผู้เรียนเลือกฝึกวิชาชีพใกล้บ้าน ซึ่งไม่ตรงกับสาขาวิชาที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด
           ค่าใช้จ่ายในการฝึกวิชาชีพ
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
      อื่นๆ ระบุ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  
  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีสู่คุณภาพมาตรฐาน ผ่านศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่ของสถานศึกษาท่าน ที่คิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  

ไม่มี

  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
3.2 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทุกช่วงวัย โดยการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย และสร้างการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อการพัฒนาทักษะอาชีพ โดยการเพิ่มพูนทักษะ (Re-skill) พัฒนาทักษะ (Up skill) และการเรียนรู้ทักษะใหม่ (New skills)
  1) สภาพความก้าวหน้า
     ด้านหลักสูตร
           หลักสูตรเพื่อการพัฒนาอาชีพ Re-skill/Up-Skill/New skills
               จำนวน.................หลักสูตร (ตัวเลข)
               จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนา .....................คน (ตัวเลข)
           หลักสูตรกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม
               จำนวน.................หลักสูตร (ตัวเลข)
               จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนา .....................คน (ตัวเลข)
           หลักสูตรกลุ่มอาชีพความคิดสร้างสรรค์
               จำนวน.................หลักสูตร (ตัวเลข)
               จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนา .....................คน (ตัวเลข)
           หลักสูตรกลุ่มอาชีพอุตสาหกรรม
               จำนวน.................หลักสูตร (ตัวเลข)
               จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนา .....................คน (ตัวเลข)
           หลักสูตรกลุ่มอาชีพเฉพาะทาง
               จำนวน.................หลักสูตร (ตัวเลข)
               จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนา .....................คน (ตัวเลข)
           อื่นๆ ระบุ
               จำนวน.................หลักสูตร (ตัวเลข)
               จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนา .....................คน (ตัวเลข)
     ด้านกระบวนการพัฒนา
           แบบอบรม/สัมมนา แบบรวมกลุ่ม มีวิทยากรบรรยาย
           แบบสื่อออนไลน์ ผ่านระบบ Zm หรือแอพพลิเคชั่นต่างๆ
           แบบเรียนรู้ด้วยตัวเอง
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      ระยะเวลาในการพัฒนาไม่สัมพันธ์กับงบประมาณที่จัดสรร
      นโยบายขาดความต่อเนื่อง
      ขาดการมีส่วนร่วม
      ขาดบุคลากรที่มีความชำนาญเฉพาะด้านในแต่ละหลักสูตร
      วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือในการพัฒนาไม่เพียงพอ และไม่ทันสมัย
      รูปแบบการพัฒนายังยึดติดกับเนื้อหามากกว่าทักษะกระบวนการ
      อื่นๆ ระบุ ความพร้อมที่จะเรียนรู้ของนักเรียนแต่ละคนไม่เท่ากัน ในหลายๆด้าน เช่น ด้านอุปกรณ์ เครื่องมือต่างๆ ด้านสภาพความเป็นอยู่และด้านอื่นๆ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  

สำรวจความต้องการ เพื่อทำการช่วยเหลือและแก้ไขปัญหาตามสภาพความขาดแคลน

  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่านที่คิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี)** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  

ไม่มี

  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
4. ด้านเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
4.1 การนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วมและการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน
  1) สภาพความก้าวหน้า
     (1) การนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน
          (1.1) การนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษา
                สถานศึกษามีการจัดทำ/นำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษา ทุกระดับการศึกษา ระบุ
                ครูได้รับการพัฒนาการจัดทำสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยและนำมาปรับใช้ในการเรียนการสอน
                สถานศึกษามีการส่งเสริม สนับสนุน โดยการจัดการเรียนการสอน/กิจกรรม เพื่อให้ผู้เรียนได้รับ การส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน
     (2) รูปแบบการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษาภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
           On-Site (การจัดการเรียนการสอนตามปกติ)
           On Air (การเรียนการสอนผ่านทีวี/ผ่านระบบดาวเทียม/ระบบเคเบิลทีวี/ระบบ IPTV/ระบบ Zoom)
           Online (การเรียนการสอนผ่านอินเตอร์เน็ต)
           On Hand (การจัดการเรียนการสอนโดยนำหนังสือ แบบฝึกหัด ใบงาน ไปเรียนรู้ที่บ้านภายใต้ความช่วยเหลือของผู้ปกครอง)
           On-Demand (การเรียนการสอนผ่านเว็บไซต์ DLTV ช่อง Youtube และแอพลิเคชัน DLTV บนสมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ต และอื่นๆ)
           รูปแบบผสมผสาน ระบุ
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      ครูขาดการพัฒนาในการจัดทำสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยและนำมาปรับใช้ในการเรียนการสอน
      ครูไม่มีความชำนาญในการใช้สื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัย
      ผู้เรียนขาดแคลนอุปกรณ์และการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต สำหรับการเรียนการสอน
      ผู้เรียนขาดการมีส่วนร่วมในการเรียน
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  

ให้ผู้เรียนเลือกการเรียนการสอนตามที่โรงเรียนจัด

-          On-Site (การจัดการเรียนการสอนตามปกติ)

-          On Air (การเรียนการสอนผ่านทีวี/ผ่านระบบดาวเทียม/ระบบเคเบิลทีวี/ระบบ IPTV/ระบบ Zoom)

-          Online (การเรียนการสอนผ่านอินเตอร์เน็ต)

-          On Hand (การจัดการเรียนการสอนโดยนำหนังสือ แบบฝึกหัด ใบงาน ไปเรียนรู้ที่บ้านภายใต้ความช่วยเหลือของผู้ปกครอง)

-          On-Demand (การเรียนการสอนผ่านเว็บไซต์ DLTV ช่อง YouTube และแอพลิเคชัน DLTV บนสมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ต และอื่นๆ)

  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  

ไม่มี

  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
Connect Error (1049) Unknown database 'db_sp_onet'