ข้อมูลพื้นฐาน
รหัสโรงเรียน (MOE Code) : 1160100001
โรงเรียน : ลาซาลโชติรวีนครสวรรค์
เขตพื้นที่ :
จังหวัด : นครสวรรค์
สังกัด : สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน
เขตตรวจราชการ : 18

การลงตรวจพื้นที่

รายงานการลงพื้นที่ตรวจราชการและติดตามประเมินผลการขับเคลื่อนนโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

1. ด้านการพัฒนาครูและการจัดการเรียนการสอน
1.1 การจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนทุกระดับมีส่วนร่วมสร้างสรรค์การเรียนรู้ เพื่อให้เกิดสมรรถนะหลักและการพัฒนาตนเองตามความถนัดและความสนใจ (Active Learning)
  1) สภาพความก้าวหน้า
     การนำไปใช้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา ระบุ
     

ครูผู้สอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้มีการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning  มุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมและมีปฏิสัมพันธ์กับกิจกรรมการเรียนรู้หลากหลายรูปแบบ ได้จัดทำแผนการจัดการเรียนรู้ออกแบบกิจกรรมตามขั้นตอนของ Active Learning ให้เหมาะกับธรรมชาติของรายวิชา เช่น ฝึกทักษะการสื่อสารในรายวิชาภาษาไทยและ        ภาษาอังกฤษ มีการทดสอบการอ่านออกเสียงโดยให้นักเรียนอัดคลิปการอ่านส่งครู มีการสนทนาโต้ตอบตามสถานการณ์อย่างเหมาะสม นักเรียนได้ฝึกทักษะการคิดจากแบบฝึกหรือเกม        ในรายวิชาคณิตศาสตร์ ฝึกแก้ปัญหาอย่างเป็นกระบวนการ ฝึกทดลองตามที่ครูสาธิตหรือดูจากคลิป ในรายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี  ได้รับฟังข่าวสารที่เป็นประโยชน์ต่อการดำรงชีวิตในสถานการณ์ปัจจุบันสามารถปฏิบัติตน เป็นพลเมืองดีของสังคม ได้ฝึกการออกแบบอย่างสร้างสรรค์ในรายวิชาศิลปะ ได้ฝึกทักษะชีวิตและฝึกทักษะการทำงานเพื่อเป็นพื้นฐานในการประกอบอาชีพ และสามารถดูแลสุขภาพให้แข็งแรงปลอดภัยจากโรคระบาด Covid-19 โดยครูผู้สอนทุกกลุ่มสาระการเรียนรู้บูรณาการกับการจัดการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่องส่งผลให้นักเรียนสามารถปฏิบัติตนได้อย่างถูกต้อง ครูมีโอกาสซักถามและให้คำปรึกษาทั้งในระบบ On-Site และระบบ Online นักเรียนสามารถขอคำแนะนำเพิ่มเติมจากครูผู้สอนรายวิชา 

จัดให้มีการวัดผลประเมินผลการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบ  มีการทดสอบก่อนเรียนเพื่อตรวจสอบพื้นฐานความรู้และนำมาเป็นข้อมูลในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้เหมาะกับสภาพผู้เรียน มีการทดสอบระหว่างเรียนและทำการบันทึกผลอย่างเป็นระบบเพื่อใช้ในการปรับปรุงหรือพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนให้มีคุณภาพอย่าง      ต่อเนื่อง

ü

 

จากการนิเทศการจัดการเรียนการสอนและติดตามการประเมินผลการเรียนรู้ พบว่านักเรียนมีพัฒนาการด้านความรู้และทักษะที่จำเป็นตามที่หลักสูตรต้องการ(จากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนภาคเรียนที่ 1

     การนำไปใช้ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนระบุ
     

โรงเรียนจัดกิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี และกิจกรรมชุมนุม มุ่งส่งเสริมให้นักเรียนได้พัฒนาทักษะการคิด ทักษะชีวิต ทักษะการแก้ปัญหาอย่างเป็นกระบวนการสามารถทำงานเป็นทีมฝึกการ      เป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี นักเรียนได้ฝึกวางแผนการทำงาน ได้สร้างผลงานจากกิจกรรมชุมนุม มีการประเมินผลงานและปรับปรุงงานอย่างเหมาะสม เกิดความภาคภูมิใจรักการทำงานและอาชีพสุจริต

     อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
     

เพื่อให้ผู้เรียนมีทักษะตามสมรรถนะหลักและพัฒนาตนเองตามความถนัดและความสนใจได้ส่งเสริมให้ผู้เรียนเข้าร่วมกิจกรรมในระบบ Online อย่างเหมาะสมได้แก่ กิจกรรมรณรงค์วันเอดส์โลก กิจกรรมวันสำคัญทางศาสนา กิจกรรมตามประเพณี และกิจกรรมการแข่งขันต่าง ๆ เช่น ประกวดวาดภาพระบายสี ประกวดการเขียนเรียงความ เป็นต้น

  2) ปัญหาและอุปสรรค
     ด้านครูผู้สอน
           ครูไม่ได้รับการอบรม/พัฒนาวิธีการจัดการเรียนการสอน แบบ Active Learning
           ครูขาดขวัญ กำลังใจ หรือแรงกระตุ้นในการจัดการเรียนการสอน
           ครูขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning
           ครูมีภาระงานมาก
           อื่น ๆ (ถ้ามี) ระบุ จากสภาวการณ์ที่ไม่ปกติ ทำให้ครูผู้สอนต้องปรับรูปแบบของการจัดการเรียนการสอนด้วยการใช้เทคโนโลยี แต่มีครูบางส่วนที่มีความเคยชินกับการสอนในรูปแบบเดิม จึงต้องใช้เวลาในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองให้ทันกับเทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว
     ด้านการบริหารจัดการ
           ผู้บริหารไม่ให้ความสำคัญกับการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning
           นโยบายขาดความต่อเนื่อง
           ขาดการมีส่วนร่วม
           ขาดการนิเทศ ติดตาม หรือผู้ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
     ด้านสื่อ วัสดุอุปกรณ์
           ขาดสื่อ วัสดุอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอนของผู้เรียน
           เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว อุปกรณ์ไม่ทันสมัย
           ขาดผู้ดูแล หรือซ่อมแซมสื่อ วัสดุอุปกรณ์
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
     อื่นๆ ระบุ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  

                 1. ปัญหาครูบางส่วนที่มีความเคยชินกับการสอนในลักษณะเดิม  และต้องใช้เวลาในการเรียนรู้รวมถึงพัฒนาตนเองให้ทันกับเทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วนั้น  ทางโรงเรียนได้มีการจัดอบรมภายในเพื่อพัฒนาความรู้และทักษะในการใช้เทคโนโลยีที่ทันสมัยให้กับคุณครู  โดยมีวิทยากรคือคุณครูรุ่นใหม่ที่มีความชำนาญและมีทักษะในการใช้เทคโนโลยี

             222. 2.ปัญหาเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว อุปกรณ์ไม่ทันสมัย  ทางโรงเรียนได้มีการจัดสรรงบประมาณของโรงเรียนเอง และส่วนหนึ่งจากงบประมาณเรียนฟรี 15 ปีอย่างมีคุณภาพ มาดำเนินการติดตั้งอุปกรณ์ให้ตอบรับกับการสอน Online รวมถึงการสอนรูปแบบ Hybrid ด้วย นอกจากนี้ยังมีการจัดสรรงบประมาณในการช่วยเหลือค่าอินเทอร์เน็ตเพื่อการศึกษาให้แก่นักเรียนทุกคนเพื่อส่งเสริมให้การเรียนรู้มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

            

  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  

การจัดการเรียนการสอนในสภาพปัจจุบันครูผู้สอนไม่สามารถมีปฏิสัมพันธ์กับผู้เรียนได้โดยตรงด้วยข้อจำกัดเพื่อความปลอดภัย ครูผู้สอนได้จัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning พยายามออกแบบกิจกรรมการเรียนการสอนให้น่าสนใจด้วยการใช้เทคโนโลยีหรือคลิปการสอนควบคู่กับการสอนสด สามารถโต้ตอบกับนักเรียนได้ ช่วยกระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจและกระตือรือร้นในการร่วมกิจกรรมการเรียนการสอนในระบบ Online มากขึ้น สามารถเป็นแบบอย่างและเป็นต้นแบบที่ดีให้กับเพื่อนครูในการเข้าไปศึกษาเรียนรู้และนำทักษะดังกล่าวไปใช้กับผู้เรียนของตนเอง

  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
1.2 การจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมืองให้มีความทันสมัยสอดรับกับวิถีใหม่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของท้องถิ่น และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง
  1) สภาพความก้าวหน้า
      สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมในการใช้ชีวิตประจำวันที่แสดงถึงความตระหนักและเห็นคุณค่าในประวัติศาสตร์ สังคม วัฒนธรรมของครอบครัว สถานศึกษาและชุมชน
      สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนใช้ชีวิตประจำวันร่วมกับผู้อื่นโดยรักษาสิทธิของตน เคารพสิทธิของผู้อื่น และรับผิดชอบตามบทบาทหน้าที่ของตนเอง และสิ่งแวดล้อม
      สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนกำกับตนเองในการใช้จ่ายของตนเอง และครอบครัว
      สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นใฝ่ทำความดี และอยู่ร่วมกับผู้อื่นด้วยดีบนหลักปฏิบัติของศาสนาที่นับถือ
      สถานศึกษาได้พัฒนาสื่อที่ทันสมัย สอดรับกับวิถีใหม่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน
      สถานศึกษามีการบูรณาการด้านการผลิตและการใช้สื่อการเรียนการสอนร่วมกับสถานศึกษาอื่น
      สถานศึกษาเปลี่ยนวิธีการสอนเป็น แนว Active learning และเสริมทักษะในการค้นคว้าหาความรู้กระแสหลัก กระแสรองในทางประวัติศาสตร์ให้เด็กสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง
      สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนคิดเป็น วิจารณ์เนื้อหาได้ แลแสร้างองค์ความรู้ใหม่
      สถานศึกษาสามารถจัดการเรียนการสอนไม่ให้ผู้เรียนเบื่อที่จะเกิดการวิเคราะห์เรียนรู้ สิ่งรอบตัวแม้บางเนื้อหาที่ผู้เรียนเห็นในหนังสือเรียน ไม่ตรงกับความจริงที่เกิดขึ้น
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
  2) ปัญหาและอุปสรรค
     ด้านครูผู้สอน (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
           ครูขาดการพัฒนาเทคนิคและวิธีการจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับวิชาประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมืองให้น่าสนใจ
           ครูยังไม่มีความพร้อมในการนำเทคนิค วิธีการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบสื่อออนไลน์ หรือเทคโนโลยีมาประกอบการสอนวิชาประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมือง
           ครูขาดความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน Active Learning มาประยุกต์ใช้
           ครูผู้สอนมีภาระงานมาก
           อื่น ๆ (ถ้ามี) ระบุ
     ด้านการบริหารจัดการ (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
           ผู้บริหารสถานศึกษาไม่ให้ความสำคัญเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมืองให้มีความทันสมัย
           นโยบายขาดความต่อเนื่อง
           ขาดการมีส่วนร่วมระหว่างปราชญ์ชาวบ้าน ผู้ปกครอง สถานศึกษาและผู้เรียนในการสร้างการเรียนรู้เกี่ยวกับการสอนประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมืองให้มีความทันสมัย
           ผู้เรียนไม่ค่อยสนใจในการเรียนเกี่ยวกับวิชาประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมือง เพราะคิดว่าน่าเบื่อ ไม่ทันสมัย
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ เวลาเรียน 1 คาบต่อสัปดาห์ไม่เพียงพอกับบทเรียน ทำให้การเรียนการสอนขาดความต่อเนื่อง
     ด้านสื่อ วัสดุอุปกรณ์ (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
           บริเวณที่ตั้งของสถานศึกษาขาดแหล่งเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชุมชนท้องถิ่นที่น่าสนใจ
           ขาดสื่อ เทคโนโลยี วัสดุอุปกรณ์ที่ทันสมัยมาสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์วิถีใหม่
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ เนื่องจากในการดำเนินชีวิตแบบวิถีใหม่ในยุคที่มีโรคระบาด covid 19 ทำให้นักเรียนไม่สามารถศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ภายนอก ทำให้นักเรียนไม่สามารถศึกษาได้จากสถานที่จริง
      อื่นๆ ระบุ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  

ให้นักเรียนหาเวลาว่างศึกษาความรู้เพิ่มเติม  จากแหล่งเรียนรู้ทางออนไลน์  เช่น YouTube สื่อบน Website ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์

  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  
  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
1.3 การพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภทให้มีสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล รวมทั้งการจัดการเรียนการสอน
  1) สภาพความก้าวหน้า
     (1) ครูได้รับการพัฒนาด้านสมรรถนะทางภาษาหรือไม่
           ได้รับการพัฒนา
           ไม่ได้รับการพัฒนา (ข้ามไปตอบข้อ (5)
     (2) ครูได้รับการพัฒนาด้านสมรรถนะทางภาษาโดยหน่วยงานใด
           สพฐ./สอศ./สช./กศน.
           สพป./สพม./ศธจ./กศจ.จังหวัด
           หน่วยงานภายนอก เช่น มหาวิทยาลัย
           อื่นๆ ระบุ 1. The Lasallian East Asia District (LEAD) 2. สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ
     (3) เมื่อได้รับการพัฒนาด้านสมรรถนะทางภาษา ได้นำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนหรือไม่
           ได้นำไปใช้ ระบุ
           ไม่ได้นำไปใช้
     (4) ครูมีการนำสมรรถนะด้านภาษาไปขยายผลให้กับครูใน/นอกสถานศึกษาหรือไม่อย่างไร
           มี ระบุ
           ไม่มี
     (5) ครูได้รับการพัฒนาด้านสมรรถนะทางด้านดิจิทัลหรือไม่
           ได้รับ
           ไม่ได้รับ (ข้ามไปตอบข้อ 2)
     (6) ครูได้รับการพัฒนาด้านสมรรถนะทางด้านดิจิทัลโดยหน่วยงานใด
           สพฐ./สอศ./สช./กศน.
           สพป./สพม./ศธจ./กศจ.จังหวัด
           หน่วยงานภายนอก เช่น มหาวิทยาลัย
           อื่นๆ ระบุ 1. คณะกรรมการประสานและส่งเสริมการศึกษาเอกชนภาคเหนือ 2. โรงเรียนลาซาลโชติรวีนครสวรรค์
     (7) ครูมีการนำสมรรถนะด้านดิจิทัลไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนหรือไม่อย่างไร
           มี ระบุ
           ไม่มี (ข้ามไปตอบข้อ 2)
     (8) ครูสามารถนำสมรรถนะด้านดิจิทัลไปขยายผลให้กับครูใน/นอกสถานศึกษาได้หรือไม่อย่างไร
           ได้ ระบุ
           ไม่ได้
  2) ปัญหาและอุปสรรค
     ด้านครูผู้สอน
           ครูขาดการพัฒนาสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล
           ครูขาดขวัญและกำลังใจ หรือแรงกระตุ้นพัฒนาสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล
           ครูมีภาระงานมาก
           อื่น ๆ (ถ้ามี) ระบุ ครูบางส่วนขาดความกระตือรือร้นการพัฒนาด้านสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล
     ด้านการบริหารจัดการ
           นโยบายขาดความต่อเนื่อง
           ผู้บริหารไม่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัลของครูและบุคลากรทางการศึกษา
           ขาดงบประมาณสนับสนุน
           ขาดการนิเทศ ติดตาม
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ งบประมาณสนับสนุนไม่เพียงพอในการบริหารจัดการให้เกิดสภาพคล่องตัว
     ด้านสื่อ วัสดุอุปกรณ์
           ขาดสื่อ วัสดุอุปกรณ์ ที่นำมาใช้ในการพัฒนาสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล
           เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว อุปกรณ์ไม่ทันสมัย
           ขาดบุคลากรที่เชี่ยวชาญเฉพาะด้านการพัฒนาสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ สัญญาณอินเตอร์เน็ตไม่เสถียร
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  

สร้างความตระหนักให้ครูเข้ารับการอบรมเพื่อเพิ่มสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัลให้ทันยุคปัจจุบัน เพิ่มความเร็ว Internet และติดตั้งจุดเชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ (Wireless LAN)

  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  

ในการพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครูให้มีสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัลของโรงเรียนลาซาลโชติรวีนครสวรรค์ อาศัยการพัฒนาแบบองค์รวมโดยการพัฒนาด้านความรู้ ครูเข้ารับการอบรมในรูปแบบการเรียนการสอนผ่านช่องทางออนไลน์เพื่อเพิ่มพูนความรู้เกี่ยวกับภาษาและดิจิทัล และมีการนำความรู้ไปใช้พัฒนาทักษะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนในรูปแบบออนไลน์และไฮบริด ที่มีการใช้สื่อ  วัสดุอุปกรณ์ดิจิทัลที่ผู้บริหารจัดไว้อย่างเพียงพอ ในการจัดการเรียนรูปแบบ Active Learning เพื่อให้เกิดเป็นความชำนาญ   จนเกิดสมรรถนะสามารถนำไปใช้ได้อย่างต่อเนื่อง

  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
1.4 หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (หลักเกณฑ์ PA)
  1) สภาพความก้าวหน้า
     (1) ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ ว.9 (PA) และวิธีการอยู่ในระดับใด
           มากที่สุด
           มาก
           ปานกลาง
           น้อย
           น้อยที่สุด
     (2) ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการชี้แจงหรือหาความรู้เกี่ยวกับหลักเกณฑ์ ว.9 (PA) จากแหล่งใด (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
           เว็ปไซต์ สำนักงาน ก.ค.ศ.
           หน่วยงานต้นสังกัดชี้แจง
                สพฐ. (สพป./สพม.)
                สอศ.
                กศน.
                สช.
           เพื่อนร่วมงาน
           สื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ
           เว็ปไซต์ อาทิ ครูบ้านนอกดอทคอม, ครูไทย, ครูวันดีดอทคอม, สถานนีครูดอทคอม
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
     (3) ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีข้อคิดเห็นอย่างไรเกี่ยวกับข้อตกลงในการพัฒนางานตามหลักเกณฑ์ ว.9 (PA)..... (ข้อความ)
     
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      ด้านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ระบุ
      ด้านการประเมินวิทยฐานะ ระบุ
      ด้านการเปลี่ยนหลักเกณฑ์การประเมินบ่อย ทำให้มีความยุ่งยากในการเตรียมเอกสารหลักฐานรองรับการประเมิน ระบุ
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
  3) หน่วยงาน/สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับ หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (หลักเกณฑ์ PA) ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  
  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินการตามหลักเกณฑ์ ว.9 (PA) อยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
1.5 การขับเคลื่อนศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) และศูนย์บริหารเครือข่ายการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา (Center of Vocational Manpower Networking Management : CVM)
  1) สภาพความก้าวหน้า
     (1) สภาพความก้าวหน้า ความสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบาย (มีเกณฑ์ตัวชี้วัดการประเมิน หรือตัวเลือกประเด็นหรือกิจกรรมที่ปฏิบัติในนโยบายนี้ เพื่อประกอบความก้าวหน้าความสำเร็จ)
          กลุ่มทั่วไป (Standard) สาขาวิชา
          
          กลุ่มเชี่ยวชาญเฉพาะ (Expert) สาขาวิชา
          
          กลุ่มความเป็นเลิศ) (Excellent Center) สาขาวิชา
          
          กลุ่มศูนย์บริหารเครือข่ายการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา (Center of Vocational Manpower Networking Management : CVM) สาขาวิชา
          
     (2) สถานศึกษามีผลการประเมินคุณภาพตามแนวทางการขับเคลื่อนศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) และศูนย์บริหารเครือข่ายการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา (Center of Vocational Manpower Networking Management : CVM) อยู่ในระดับใด
           ดีมาก
           ดี
           ปานกลาง
           พอใช้
     (3) เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
           สถานศึกษามีนวัตกรรมการบริหารจัดการสอดคล้องกับสภาพบริบท และตอบสนองความต้องการของชุมชน สังคม และยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ
           มีครุภัณฑ์และอุปกรณ์ สื่อ เทคโนโลยีดิจิทัล ทรัพยากร สิ่งสนับสนุนการศึกษา ที่เพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอน
           สถานศึกษามีภาคีเครือข่ายความร่วมมือกับองค์กรทางวิชาชีพ สถานประกอบการ สถาบันการศึกษาอาชีวศึกษา/อุดมศึกษาทั้งในประเทศหรือต่างประเทศ ในการพัฒนาทักษะทางวิชาการ ทักษะอาชีพ และการฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพของครู และผู้เรียน
           หลักสูตรมีความสอดคล้องกับมาตรฐานอาชีพตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ เชื่อมโยงสมรรถนะอาชีพในการท างานสู่ระบบคุณวุฒิทางการศึกษา หรือมาตรฐานอาชีพตามที่หน่วยงานซึ่งมีหน้าที่ให้การรับรองมาตรฐานกำหนดไว้ ในสาขาวิชาที่มีความเป็นเลิศ
           ครูมีสมรรถนะทางวิชาชีพที่ทันสมัย สอดคล้องกับเทคโนโลยีที่สถานประกอบการใช้ในปัจจุบัน ตลอดจนมีทักษะการจัดกระบวนการจัดการเรียนรู้
           ผู้เรียนมีสมรรถนะทางวิชาชีพในสาขาวิชาที่มีความเป็นเลิศ ตรงกับความต้องการของสถานประกอบการ
           สถานศึกษาเป็นศูนย์พัฒนาอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการ การประเมินสมรรถนะบุคคลตามมาตรฐานอาชีพในสาขาอาชีพที่สอดคล้องกับสาขาวิชา ที่มีความเป็นเลิศ ให้กับผู้เรียน ผู้สำเร็จการศึกษา ผู้ประกอบอาชีพ หรือ ประชาชนทั่วไป เพื่อสร้างโอกาสการเข้าสู่โลกอาชีพและการมีงานทำ
           สถานศึกษามีระบบประกันคุณภาพที่เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา เหมาะสมกับหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน สื่อเทคโนโลยี ทรัพยากรการเรียนรู้ และการประเมินการเรียนการสอน โดยมีการกำกับ ติดตาม และประเมินผลเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      มาตรฐานอาชีพหรือมาตรฐานฝีมือแรงงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ไม่ครอบคลุมสาขาวิชา
      นโยบายขาดความต่อเนื่อง
      ครูผู้สอนมีวุฒิการศึกษาวิชาชีพ ไม่ตรงตามสาขาวิชาที่สอน
      ขาดห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ครุภัณฑ์/อุปกรณ์ สื่อ ในการจัดการเรียนการสอนที่ทันสมัย
      ผู้เรียนมีสมรรถนะไม่ตรงตามหลักสูตรกำหนด กับความต้องการของสถานประกอบการ
      สถานศึกษาขาดการเตรียมความพร้อมตามแนวทางการจัดการสถานศึกษา ภายใต้ศูนย์
      ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) และศูนย์บริหารเครือข่ายการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา (Center of Vocational Manpower Networking Management : CVM) ในการประเมินสมรรถนะผู้เรียนและการรับรองที่เอื้อต่อการพัฒนารายบุคคล
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  
  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  
  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
1.6 ความปลอดภัยของผู้เรียน โดยการสร้างสถานศึกษาปลอดภัย และบริหารจัดการเชิงบูรณาการในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  1) สภาพความก้าวหน้า
     1) ครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการส่งเสริม สนับสนุน ให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างภูมิคุ้มกัน พร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงและภัยคุกคามรูปแบบใหม่ ทุกรูปแบบ
           ครบทุกประเภทภัยคุกคาม
           บางประเภทภัยคุกคาม
                ภัยยาเสพติด
                ภัยความรุนแรง
                ภัยพิบัติต่างๆ
                อุบัติเหตุ
                โรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำ (เช่น CVID-19 เป็นต้น)
                ฝุ่น PM 2.5
                การค้ามนุษย์
                การคุกคามในชีวิตและทรัพย์สิน
                อาชญากรรมไซเบอร์
           ไม่มี
     2) การบริหารจัดการเชิงบูรณาการในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สถานศึกษาได้ดำเนินงานหรือได้รับความช่วยเหลือจากหน่วยงานใดบ้าง (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
           กระทรวงศึกษาธิการ
           กระทรวงสาธารณสุข
           กรมการปกครอง
           ภาคเอกชน
           อื่นๆ (ระบุ)
     3) สถานศึกษามีการบริหารจัดการเชิงบูรณาการในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) อย่างไรบ้าง
           มี
           ไม่มี
     4) สถานศึกษามีแผนการดำเนินงาน/แผนเผชิญเหตุ/แนวทาง/คู่มือเพื่อความปลอดภัยของผู้เรียนในสถานศึกษา
           มีแผนเผชิญเหตุ แนวทาง คู่มือเพื่อความปลอดภัยของผู้เรียนในสถานศึกษา
           ไม่มี
     5) ผู้เรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมที่สถานศึกษาจัดเพื่อส่งเสริม สนับสนุนในการสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม พร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงและภัยคุกคามรูปแบบใหม่ทุกรูปแบบ
           ครบทุกประเภทภัยคุกคาม
           บางประเภทภัยคุกคาม
                ภัยยาเสพติด
                ภัยความรุนแรง
                ภัยพิบัติต่างๆ
                อุบัติเหตุ
                โรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำ (เช่น CVID-19 เป็นต้น)
                ฝุ่น PM 2.5
                การค้ามนุษย์
                การคุกคามในชีวิตและทรัพย์สิน
                อาชญากรรมไซเบอร์
           ไม่มี
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      ผู้บริหารขาดความตระหนักในการสร้างความรู้ความเข้าใจกับการรับมือกับภัยคุกคามรูปแบบใหม่ให้กับผู้เรียน
      ครูขาดขวัญกำลังใจ การคุ้มครองดูแลช่วยเหลือในการปฏิบัติงานภายในสถานศึกษา
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  

การเข้าร่วมกิจกรรมที่ส่งเสริม สนับสนุนในการสร้างภูมิคุ้มกัน โครงการ กิจกรรม รูปแบบการเรียนรู้ การจัดการเรียนการสอน ในรูปแบบออนไลน์

  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับความปลอดภัยของผู้เรียน โดยการสร้างสถานศึกษาปลอดภัยของสถานศึกษาท่าน ที่คิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  

     โรงเรียนลาซาลได้รับรางวัล “สถานศึกษาปลอดภัย” ติดต่อกัน 5 ปี ตั้งแต่ พ.ศ. 2559 – 2563 เป็นการเสริมสร้างทัศนคติและจิตสำนึกที่ดี และเผยแพร่ความรู้ความเข้าใจ เกี่ยวกับมาตรการเชิงป้องกันด้านความปลอดภัย อาชีวอนามัย และสภาพแวดล้อมในการทำงานให้แก่ยุวแรงงานก่อนเข้าสู่ตลาดแรงงาน และเพื่อสนับสนุนการพัฒนาสภาพแวดล้อมที่สนับสนุนการสร้างวัฒนธรรมความปลอดภัยให้กับยุวแรงงานตามเกณฑ์การประเมินสถานศึกษาปลอดภัย

  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
2. ด้านการสร้างโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียมกันทางสังคม
2.1 การค้นหาเด็กวัยเรียนหลุดจากระบบการศึกษา และติดตามให้ความช่วยเหลือเข้าสู่ระบบการศึกษา
  1) สภาพความก้าวหน้า
      สถานศึกษามีการค้นพบเด็กวัยเรียนที่หลุดจากระบบการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน..............คน (ตัวเลข)
      การติดตามให้ความช่วยเหลือเข้าสู่ระบบการศึกษา สำหรับเด็กที่อยู่ในการศึกษาภาคบังคับ จำนวน ................คน (ตัวเลข)
          กศน. จำนวน................คน (ตัวเลข)
          อาชีวศึกษา จำนวน ...........คน (ตัวเลข)
      การติดตามให้ความช่วยเหลือผู้เรียนเข้าสู่ระบบการศึกษา สำหรับเด็กที่อายุเกิน 15 ปี จำนวน.............คน (ตัวเลข)
          กศน. จำนวน................คน (ตัวเลข)
          อาชีวศึกษา จำนวน ...........คน (ตัวเลข)
          เข้าทำงานสถานประกอบการ จำนวน...............คน (ตัวเลข)
          ประกอบอาชีพอื่นๆ จำนวน ................คน (ตัวเลข)
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      ด้านเศรษฐกิจ รายได้ของครอบครัว
      การย้ายถิ่นฐานตามผู้ปกครอง
      ความไม่พร้อมของผู้เรียน ด้านสติปัญญา ร่างกาย ฯลฯ
      ปัญหาของครอบครัว (หย่าร้าง /แยกกันอยู่)
      การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19)
      อื่นๆ (ถ้ามี) ปัญหามารดาเสียชีวิตจากโรคติดเชื้อโควิด-19
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  

§  ปัญหาด้านเศรษฐกิจ รายได้ของครอบครัว

                   โรงเรียนลดหย่อนค่าธรรมเนียมการเรียนในภาคเรียนที่ 1 ใช้งบประมาณโครงการเรียนฟรี 15 ปี    ช่วยเหลือในการเรียนรูปแบบออนไลน์ของนักเรียน

§  ปัญหาการย้ายถิ่นฐานตามผู้ปกครอง

                   ครูฝ่ายวิชาการให้คำแนะนำ ช่วยประสานงานและดำเนินการด้านเอกสารการเรียนอย่างถูกต้อง รวดเร็ว ผู้ปกครองไม่ต้องเสียเวลาในการเดินทางติดตามเอกสาร

§  ปัญหาของครอบครัว (หย่าร้าง / แยกกันอยู่ )

                   ครูที่ปรึกษาเอาใจใส่ พูดคุยแนะนำ ติดตามดูแลพฤติกรรมเพื่อให้นักเรียนเอาใจใส่การเรียน มีความรับผิดชอบในการทำงาน ส่งงาน มีความสุขกับการเรียน

§  ปัญหาการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ( COVID 19)

                   โรงเรียนแต่งตั้งคณะกรรมการดำเนินโครงการ โรงเรียน Sandbox Safety Zone in School มีการจัดทำคู่มือการดำเนินงาน ประชุมวางแผนการดำเนินงานอย่างชัดเจน และได้รับการตรวจ ติดตามจากคณะกรรมการโรคติดต่อของจังหวัดนครสวรรค์ การเปิดเรียนแบบผสมผสานระยะเวลาประมาณ 2 เดือน ผ่านไปด้วยดีไม่พบการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในโรงเรียน  นักเรียนมีความปลอดภัย

§  ปัญหามารดาเสียชีวิตจากโรคติดเชื้อโควิด-19

นางสาวภัทรนันท์  วิชาพร ชั้น ม.3/2 ประสบปัญหามารดาเสียชีวิตจากโรคติดเชื้อโควิด-19 ณ ประเทศอินเดีย ทางโรงเรียนได้ทำหนังสือไปยังสำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดนครสวรรค์ ทำให้ได้รับทุน พระราชทานทุนเพื่อการศึกษามูลนิธิราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์ จนกระทั่งจบการศึกษาระดับปริญญาตรี

  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  

  • โรงเรียนมีการติดตามนักเรียนเพื่อไม่ให้หลุดจากระบบการศึกษาโดยครูที่ปรึกษาห้องเรียนจัดทำข้อมูลพื้นฐานนักเรียนรายบุคคล สร้างกลุ่มไลน์นักเรียนและกลุ่มไลน์   ผู้ปกครองห้องเรียน เพื่อติดต่อสื่อสารการเข้าเรียน การทำงาน การส่งงาน ประชาสัมพันธ์ข่าวสารต่างๆของโรงเรียน เมื่อเกิดปัญหาสามารถติดต่อผู้ปกครองได้โดยตรง

  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
2.2 การดูแลเด็กปฐมวัย ด้วยการส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้พัฒนาการสมวัย ได้รับโอกาสทางการศึกษาทั้งในและนอกระบบการศึกษา
  1) สภาพความก้าวหน้า
     (1) ผู้เรียนในระดับปฐมวัย (อนุบาล 3) ปีการศึกษา 2564 ทั้งหมด
          จำนวน.............คน (ตัวเลข) จำแนกเป็น 207
          ผู้เรียนปกติ จำนวน..........คน (ตัวเลข) 207
          ผู้เรียนที่มีความบกพร่อง จำนวน.............คน (ตัวเลข)
     (2) ผู้เรียนปกติ มีผลการประเมินพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา ผ่านเกณฑ์การประเมินพัฒนาการคุณภาพระดับ 3 ทั้ง 4 ด้าน
          จำนวน..............คน (ตัวเลข) 154
          คิดเป็นร้อยละ........... (เทียบจากผู้เรียนปกติ) (ตัวเลข) 74.40
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      ขาดแคลนครูวิชาเอกปฐมวัย
      ครูผู้สอนระดับปฐมวัยสอนไม่ตรงวิชาเอก
      ครูไม่ครบชั้น (ครู 1 คน สอน 2 ระดับชั้น)
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  
  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการค้นหาเด็กวัยเรียนหลุดจากระบบการศึกษา และติดตามให้ความช่วยเหลือเข้าสู่ระบบการศึกษาของสถานศึกษาท่าน ที่คิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  

  • ระดับปฐมวัยได้กำหนดแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้และส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัยในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา2019 (COVID - 19) ในรูปแบบการจัดการเรียนรู้แบบ Online มีการสำรวจความพร้อมของผู้ปกครองด้านคอมพิวเตอร์หรือโทรศัพท์สมาร์ทโฟนและ ความพร้อมที่จะเรียนรู้ร่วมกันกับเด็กปฐมวัย และดำเนินการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ให้สอดคล้องกับหลักสูตรการศึกษาปฐมวัย พุทธศักราช 2560 โดยครูนำสื่อ นวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใช้ในการจัดการเรียนรู้ด้วยระบบแอปพลิเคชั่น Line, Google Meet และโปรแกรมเพื่อการพัฒนาสื่อนวัตกรรม เช่น youtube, Powerpoint, Loom, Filmora9, CapCut, KineMaster ฯลฯ นอกจากนี้ยังได้จัดกิจกรรมในการเรียนรู้ ที่ส่งเสริมพัฒนาการของเด็กปฐมวัย เช่น กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์ กิจกรรม Cooking กิจกรรมฝึกทักษะชีวิตจากประสบการณ์ตรง และการเรียนรู้ในรูปแบบ On-Hand ที่สามารถบูรณาการร่วมกันในการจัดกิจกรรม การเรียนรู้ผ่านระบบเครือข่ายอินเทอร์เน็ต (Online) ซึ่งเป็นกระบวนการการจัดการเรียนรู้ที่เปิดโอกาสให้เด็กได้ลงมือกระทำ มีการติดตามผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยให้ผู้ปกครองถ่ายรูปภาพชิ้นงาน หรือบันทึกวิดีโอการทำกิจกรรมของเด็กส่งให้ครูทางไลน์กลุ่มห้องเรียน และติดตามพัฒนาการของเด็ก ด้านร่างกาย อารมณ์-จิตใจ สังคม และสติปัญญา ผ่านการทำ       แบบสอบถามออนไลน์ด้วย Google Forms ร่วมกับผู้ปกครอง ประกอบการสังเกตพัฒนาการของเด็กในรูปแบบ Online และ On-Hand เพื่อส่งเสริมและประเมินพัฒนาการของเด็กปฐมวัย

  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
2.3 การสร้างโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพสำหรับคนพิการ และผู้ด้อยโอกาสและผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทั้งในและนอกระบบการศึกษา
  1) สภาพความก้าวหน้า
      ผู้เรียนที่เป็นผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาสและผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทั้งในและนอกระบบการศึกษา เข้าถึงบริการการศึกษา
      ผู้เรียนที่เป็นผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาสและผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทั้งในและนอกระบบการศึกษา ได้รับการพัฒนาสมรรถภาพหรือบริการทางการศึกษาที่เหมาะสมตามความจำเป็น โปรดระบุรายละเอียด      

ผู้เรียนเป็นผู้ด้อยโอกาสอยู่ในระบบการศึกษาได้รับการบริการทางการศึกษาที่เหมาะสมตามความจำเป็น โดยทางโรงเรียนลาซาลโชติรวีนครสวรรค์  มีโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนผู้ด้อยโอกาสบ้านลาซาล ซึ่งจัดทำในรูปแบบของหอพักสำหรับนักเรียนชาย-หญิง  อายุ 12-18 ปี ที่ครอบครัวยากจน ให้อยู่ในลักษณะของเด็กประจำ โดยมีครูและคณะบราเดอร์อบรมดูแลอย่างใกล้ชิด พร้อมได้ฝึกปฏิบัติทักษะต่างๆ ในการอยู่ร่วมกัน เช่น การทำความสะอาดที่พัก การทำอาหาร การทำสวนเกษตร  และร่วมกิจกรรมในโอกาสพิเศษต่าง ๆ  การดำเนินงานเป็นไปในรูปแบบของมูลนิธิลาซาล  ซึ่งได้ดำเนินงานมาตั้งแต่ปี 2526 จนถึงปัจจุบัน

      สถานศึกษามีการจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program : IEP) สำหรับเด็กพิการเรียนรวม (9 ประเภท) และผ่านเกณฑ์การประเมินระบบการจัดการศึกษา
      สถานศึกษามีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนและบริหารจัดการสถานศึกษาที่มีประสิทธิภาพ สามารถลดจำนวนเด็กด้อยโอกาส โดยให้เด็กทุกคนสามารถเข้าถึงและส่งเสริมเด็กด้อยโอกาสให้ได้รับการศึกษาเต็มตามศักยภาพ
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      สถานศึกษา/ผู้รับผิดชอบงานการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการและผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ขาดความเชี่ยวชาญ ความชำนาญเฉพาะด้าน
      ผู้ปกครองบางส่วนขาดความรู้ ความเข้าใจและมีเจตคติที่ไม่ดีต่อความบกพร่องของเด็กและการส่งเด็กเข้ารับการพัฒนาในสถานศึกษา
      การพัฒนาและส่งเสริมผู้เรียน เป็นไปได้ยาก เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื่อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ ปัญหาหลักในการดำเนินโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนผู้ด้อยโอกาสบ้านลาซาล คือ ผู้เรียนอยู่ในพื้นที่ห่างไกล อยู่ในจังหวัดตะเข็บชายแดนหรือชนเผ่าที่เป็นชนกลุ่มน้อย ทำให้เกิดความยากลำบากในการเดินทางออกมาจากพื้นที่ และมีความขัดสนในเรื่องของค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ส่งผลให้ในบางครั้งผู้ปกครองไม่อยากส่งลูกมาเรียน
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  

จากปัญหาผู้เรียนอยู่ในพื้นที่ห่างไกล  และมีความขัดสนในเรื่องของค่าใช้จ่ายในการเดินทางจนบางครั้งผู้ปกครองไม่อยากส่งลูกมาเรียนนั้น  นอกจากทางโรงเรียนจะทำความเข้าใจกับผู้ปกครองถึงความสำคัญของศึกษาของเด็กวัยเรียนแล้ว  ทางโรงเรียนได้ดำเนินการแก้ปัญหาใน 2 ลักษณะ  คือ

1.       รับผิดชอบค่าใช้จ่ายในการเดินทางมาและเดินทางกลับไปเยี่ยมบ้านของเด็ก

2.       ทางโรงเรียนดูแลนำรถไปรับและไปส่งกลับบ้านโดยไม่มีค่าใช้จ่าย

  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการสร้างโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพสำหรับคนพิการและผู้ด้อยโอกาสและผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทั้งในและนอกระบบการศึกษาของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  

โครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนผู้ด้อยโอกาสบ้านลาซาลมีจุดเด่น คือ

1.       เด็กและเยาวชนผู้ด้อยโอกาส  มีที่อยู่ ที่เรียนอย่างปลอดภัย

2.       เด็กและเยาวชนได้รับการศึกษา อยู่ในสังคมได้อย่างมีความสุข

3.       เด็กและเยาวชนชาย-หญิง มีที่พักที่เหมาะสมเป็นสัดส่วน มีผู้ให้การอบรมดูแลอย่างใกล้ชิด

4.       เด็กและเยาวชนได้มีโอกาสศึกษาต่อในระดับอุดมศึกษา

5.       เด็กและเยาวชนที่จบการศึกษา มีอาชีพการงานที่ดี และประสบความสำเร็จในชีวิต เป็นแบบอย่างที่ดีให้รุ่นน้อง

  5) ท่านมีความพึงพอใจอยู่ในระดับใดของการดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนปฐมวัย
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
3. ด้านความร่วมมือ
3.1 การจัดการศึกษาแบบทวิภาคีสู่คุณภาพมาตรฐาน ผ่านศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่
  1) สภาพความก้าวหน้า
     ตามแนวทางปฏิบัติจัดการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
          ความร่วมมือกับสถานประกอบการ
                ไม่มีความร่วมมือ
                มีความร่วมมือ
                     ในพื้นที่บริการ
                     นอกพื้นที่บริการ/นอกจังหวัด
                     ต่างประเทศ
          ความร่วมมือกับสถานประกอบการในการจัดการศึกษาระบบทวิภาคี
                ไม่มีความร่วมมือ
                มีความร่วมมือกับสถานประกอบการอย่างเข้มข้น
                     การพัฒนาหลักสูตร
                     การพัฒนาครู
                     การพัฒนานักเรียนนักศึกษา
                     การสนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา
     (1) ด้านคุณภาพหลักสูตร
          (1.1) ด้านการพัฒนาหลักสูตรรายวิชา ระดับคุณภาพในการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะรายวิชาที่สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการ อยู่ในระดับใด
                ดีมาก
                ดี
                ปานกลาง
                ปรับปรุง
          (1.2) ด้านการบริหารจัดการหลักสูตร ระดับคุณภาพในการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง อยู่ในระดับใด
                ดีมาก
                ดี
                ปานกลาง
                ปรับปรุง
          (1.3) ด้านทรัพยากรการจัดอาชีวศึกษา ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และพื้นที่ อยู่ในระดับใด
                ดีมาก
                ดี
                ปานกลาง
                ปรับปรุง
          (1.4) ด้านคุณภาพผู้สำเร็จการศึกษา ผ่านเกณฑ์การทดสอบมาตรฐานวิชาชีพของสถานศึกษาและหน่วยงานภายนอก อยู่ในระดับใด
                ดีมาก
                ดี
                ปานกลาง
                ปรับปรุง
          (1.5) ด้านคุณภาพผู้สำเร็จการศึกษา ระบบทวิภาคีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระ อยู่ในระดับใด
                ดีมาก
                ดี
                ปานกลาง
                ปรับปรุง
     (2) ด้านคุณภาพผู้สำเร็จการศึกษา
          (2.1) ด้านทักษะและความสามารถในการปฏิบัติงาน ผู้เรียนชั้นปีสุดท้ายที่มีคุณลักษณะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพ (VQ) อยู่ในระดับใด
                ดีมาก
                ดี
                ปานกลาง
                ปรับปรุง
          (2.2) ด้านทักษะและความสามารถในการปฏิบัติงาน ผู้เรียนผ่านการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง อยู่ในระดับใด
                ดีมาก
                ดี
                ปานกลาง
                ปรับปรุง
          (2.3) ด้านความพึงพอใจของสถานประกอบการที่มีต่อคุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษา อยู่ในระดับใด
                ดีมาก
                ดี
                ปานกลาง
                ปรับปรุง
  2) ปัญหาและอุปสรรค
     ด้านครูผู้สอน
           ครูไม่เข้าใจการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
           ครูขาดขวัญและกำลังใจ การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
           อื่น ๆ (ถ้ามี) ........................................ (ข้อความ)
     ด้านการบริหารจัดการ
           สถานศึกษามีการปรับเปลี่ยนผู้บริหารบ่อย ทำให้ขาดความต่อเนื่อง
           ผู้เรียน และผู้ปกครองไม่เข้าใจการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
           สถานประกอบการมีข้อจำกัดในการรับผู้เรียนเข้ารับการฝึกวิชาชีพ
           อื่นๆ (ถ้ามี)............................................... (ข้อความ)
     ด้านผู้เรียน
           ผู้เรียนขาดทักษะ Sft Skill
           ผู้เรียนไม่ปรับตัวเข้ากับสถานประกอบการ
           ผู้เรียนเลือกฝึกวิชาชีพใกล้บ้าน ซึ่งไม่ตรงกับสาขาวิชาที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด
           ค่าใช้จ่ายในการฝึกวิชาชีพ
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
      อื่นๆ ระบุ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  
  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีสู่คุณภาพมาตรฐาน ผ่านศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่ของสถานศึกษาท่าน ที่คิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  
  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
3.2 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทุกช่วงวัย โดยการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย และสร้างการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อการพัฒนาทักษะอาชีพ โดยการเพิ่มพูนทักษะ (Re-skill) พัฒนาทักษะ (Up skill) และการเรียนรู้ทักษะใหม่ (New skills)
  1) สภาพความก้าวหน้า
     ด้านหลักสูตร
           หลักสูตรเพื่อการพัฒนาอาชีพ Re-skill/Up-Skill/New skills
               จำนวน.................หลักสูตร (ตัวเลข)
               จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนา .....................คน (ตัวเลข)
           หลักสูตรกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม
               จำนวน.................หลักสูตร (ตัวเลข)
               จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนา .....................คน (ตัวเลข)
           หลักสูตรกลุ่มอาชีพความคิดสร้างสรรค์
               จำนวน.................หลักสูตร (ตัวเลข)
               จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนา .....................คน (ตัวเลข)
           หลักสูตรกลุ่มอาชีพอุตสาหกรรม
               จำนวน.................หลักสูตร (ตัวเลข)
               จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนา .....................คน (ตัวเลข)
           หลักสูตรกลุ่มอาชีพเฉพาะทาง
               จำนวน.................หลักสูตร (ตัวเลข)
               จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนา .....................คน (ตัวเลข)
           อื่นๆ ระบุ หลักสูตรสถานศึกษาบูรณาการในกลุ่มสาระ
               จำนวน.................หลักสูตร (ตัวเลข) 1
               จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนา .....................คน (ตัวเลข) 4,202
     ด้านกระบวนการพัฒนา
           แบบอบรม/สัมมนา แบบรวมกลุ่ม มีวิทยากรบรรยาย
           แบบสื่อออนไลน์ ผ่านระบบ Zm หรือแอพพลิเคชั่นต่างๆ
           แบบเรียนรู้ด้วยตัวเอง
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      ระยะเวลาในการพัฒนาไม่สัมพันธ์กับงบประมาณที่จัดสรร
      นโยบายขาดความต่อเนื่อง
      ขาดการมีส่วนร่วม
      ขาดบุคลากรที่มีความชำนาญเฉพาะด้านในแต่ละหลักสูตร
      วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือในการพัฒนาไม่เพียงพอ และไม่ทันสมัย
      รูปแบบการพัฒนายังยึดติดกับเนื้อหามากกว่าทักษะกระบวนการ
      อื่นๆ ระบุ นักเรียนบางคนไม่พร้อมทั้งทางด้านความพร้อมของครัวครัว และด้านเครื่องมือสื่อสาร
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  

นักเรียนที่ทางบ้านไม่พร้อม สามารถศึกษาและปฏิบัติตามที่หลัง ส่วนทางด้านเครื่องมือสื่อสารไม่รองรับ ให้ทำในรูปแบบใบงานแทน

  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
4. ด้านเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
4.1 การนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วมและการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน
  1) สภาพความก้าวหน้า
     (1) การนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน
          (1.1) การนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษา
                สถานศึกษามีการจัดทำ/นำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษา ทุกระดับการศึกษา ระบุ โรงเรียนมีการจัดทำ/นำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษา ทุกระดับการศึกษา ซึ่งโรงเรียนได้มีการจัดครูเข้ารับการอบรมเชิงปฏิบัติการโดยครูผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีเพื่อ มาจัดทำสื่อการเรียนการสอนออนไลน์ที่ทันสมัย ให้สอดคล้องกับสถานการณ์ การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา (COVID-19)และตรงกับความต้องการของนักเรียนและผู้ปกครอง โดยแบ่งการจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การสร้างนวัตกรรมการพัฒนาการเรียนการสอนเพื่อยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน โดยใช้ Google form Line meeting การสร้างใบงาน ด้วย เว็ปไซต์ Live work sheet การสร้างสื่อวีดีโอด้วยโปรแกรม Filmora เป็นระดับชั้น ดังนี้ ระดับชั้น ปฐมวัย ครูผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 36 คน ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 1-3 ครูผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 23 คน ระดับชั้น ประถมศึกษาปีที่ 4-6 ครูผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 26 คน ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 1-3 ครูผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 48 คน ระดับชั้น มัธยมศึกษาปีที่ 4-6 ครูผู้เข้ารับการอบรม จำนวน 18 คน หลังจากครูได้รับการอบรมเชิงปฏิบัติการ ครูสามารถนำความรู้ที่ได้รับไป จัดการเรียนการสอนและผลิตสื่อการสอนได้สอดคล้องกับตัวชี้วัดทำให้นักเรียน ได้รับความรู้ความเข้าใจ และสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ เช่น การฝึกให้นักเรียนใช้ทักษะดิจิทัลในการสร้างชิ้นงาน Game ,แบบทดสอบ จากเว็ปไซต์ ต่างๆ เช่น Quizizz ฝึกทักษะการติดต่อสื่อสารผ่าน อินเทอร์เน็ต โดยการใช้ Application Line การสมัคร และการส่ง Email การใช้อินเทอร์เน็ตในการหารายได้เพื่อสร้างอาชีพเสริม ระหว่างเรียนด้วยการขายของออนไลน์ ฝึกการนำเสนองานด้วยการสร้างเป็นคลิปวีดีโอ โดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่หลากหลาย
                ครูได้รับการพัฒนาการจัดทำสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยและนำมาปรับใช้ในการเรียนการสอน
                สถานศึกษามีการส่งเสริม สนับสนุน โดยการจัดการเรียนการสอน/กิจกรรม เพื่อให้ผู้เรียนได้รับ การส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน
     (2) รูปแบบการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษาภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
           On-Site (การจัดการเรียนการสอนตามปกติ)
           On Air (การเรียนการสอนผ่านทีวี/ผ่านระบบดาวเทียม/ระบบเคเบิลทีวี/ระบบ IPTV/ระบบ Zoom)
           Online (การเรียนการสอนผ่านอินเตอร์เน็ต)
           On Hand (การจัดการเรียนการสอนโดยนำหนังสือ แบบฝึกหัด ใบงาน ไปเรียนรู้ที่บ้านภายใต้ความช่วยเหลือของผู้ปกครอง)
           On-Demand (การเรียนการสอนผ่านเว็บไซต์ DLTV ช่อง Youtube และแอพลิเคชัน DLTV บนสมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ต และอื่นๆ)
           รูปแบบผสมผสาน ระบุ
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      ครูขาดการพัฒนาในการจัดทำสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยและนำมาปรับใช้ในการเรียนการสอน
      ครูไม่มีความชำนาญในการใช้สื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัย
      ผู้เรียนขาดแคลนอุปกรณ์และการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต สำหรับการเรียนการสอน
      ผู้เรียนขาดการมีส่วนร่วมในการเรียน
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  

จากปัญหา ผู้เรียนขาดแคลนอุปกรณ์และการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต สำหรับการเรียน ทางโรงเรียนมีการดำเนินการในการแก้ปัญหา ด้วยการเปิดโอกาสให้      นักเรียน มาเรียนที่โรงเรียนในรูปแบบ On-Site โดยมีมาตรการแผนปฏิบัติการตอบโต้การระบาดของโรค COVID-19 และโรงเรียนได้มีการสนับสนุนช่วยเหลือค่าอินเทอร์เน็ตให้กับนักเรียนทุกคน และจากปัญหาผู้เรียนขาดการมีส่วนร่วมในการเรียนอาทิเช่นขณะเรียนผู้เรียนไม่เปิดกล้องและไม่แสดง ความคิดเห็นหรือไม่ตอบคำถามในระหว่างเรียนทำให้การจัดการเรียนการสอนเป็นแบบ ทางเดียว ครูแก้ปัญหาโดยปรับการวัดและประเมินผลนักเรียนให้มีความหลากหลายเช่นประเมินสภาพจริง ประเมินจากชิ้นงาน ภาระงาน ใบงานออนไลน์ และเวลาในการเข้าเรียน 

  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  

  • ครูมีการจัดการเรียนการสอนโดยใช้สื่อเทคโนโลยที่ทันสมัย เน้นให้นักเรียนมีส่วนร่วมในการเรียนรู้ที่หลากหลาย ดังนี้ การจัดการเรียนการสอนผ่าน Appication Line ( Line Call , Line Meeting ) , Program ZOOM , Google Meet  , Google Class Room การทำแบบทดสอบโดยใช้ Google Froms , เวปไซต์ Quizizz  , การทำใบงาน Online Live Work Sheet และการสร้างคลิปวิดีโอการสอน และเผยแพร่ลงใน You Tobe  เช่น        คลิปวิดีโอ เรื่องลักษณะทางพันธุกรรม , คลิปวิดีโอ เรื่อง เศษส่วน , คลิปวิดีโอเรื่อง My Best Friend  By ครูฟาง,คลิปวีดีโอวิทยาการคำนวณ ฯลฯ
  • จากการจัดการเรียนการสอนที่นำนวัตกรรมและเทคโนโลยี ที่ได้รับการแก้ ปรับปรุง และพัฒนา ให้มีศักยภาพในการนำไปใช้ประกอบ                 การเรียนการสอนแก่นักเรียน ทำให้ครูผู้สอนให้พัฒนาตนเองในการด้านสร้างสื่อดิจิทัลที่ทันสมัยและมีคุณภาพ มากยิ่งขึ้น ผู้เรียนมีการฝึกทักษะด้าน  ดิจิทัลจากสื่อการสอนของครู ซึ่งเป็นการกระตุ้นให้นักเรียนเกิดความสนใจในการเรียน Online มากยิ่งขึ้น

  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด
      พึงพอใจมาก
      พึงพอใจปานกลาง
      พึงพอใจน้อย
      พึงพอใจน้อยที่สุด
Connect Error (1049) Unknown database 'db_sp_onet'