SCHOOL INFO

สรุปภาพรวมการตรวจราชการ

โรงเรียนที่เป็นหน่วยรับตรวจทั้งหมด 396 โรงเรียน
ทำแบบสรุปแล้วจำนวน 300 โรงเรียน คิดเป็นร้อยละ 75.76

สรุปการลงพื้นที่ตรวจราชการและติดตามประเมินผลการขับเคลื่อนนโยบายการจัดการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565

1. ด้านการพัฒนาครูและการจัดการเรียนการสอน
1.1 การจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนทุกระดับมีส่วนร่วมสร้างสรรค์การเรียนรู้ เพื่อให้เกิดสมรรถนะหลักและการพัฒนาตนเองตามความถนัดและความสนใจ (Active Learning)
  1) สภาพความก้าวหน้า
     การนำไปใช้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้/รายวิชา ระบุ
     
     การนำไปใช้ในกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนระบุ
     
     อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
     
  2) ปัญหาและอุปสรรค
     ด้านครูผู้สอน
           ครูไม่ได้รับการอบรม/พัฒนาวิธีการจัดการเรียนการสอน แบบ Active Learning คิดเป็นร้อยละ 21.24 (55/259)
           ครูขาดขวัญ กำลังใจ หรือแรงกระตุ้นในการจัดการเรียนการสอน คิดเป็นร้อยละ 8.88 (23/259)
           ครูขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning คิดเป็นร้อยละ 31.27 (81/259)
           ครูมีภาระงานมาก คิดเป็นร้อยละ 46.72 (121/259)
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
           -> 1. ในพื้นที่เกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) ไม่สามารถจัดการเรียนการสอน” ในสภาพปกติ”ได้ คือ นักเรียนไม่สามารถมาเรียนที่ห้องเรียนได้หรือมาเรียนได้ไม่ครบทั้งห้องเรียน 2. ขาดความต่อเนื่องในการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการ Active Learning มี ข้อจำกัด ด้านเวลาและอุปกรณ์ 3. ครู ต้องปรับตัว ปรับกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active learning ให้เข้ากับวิถี ใหม่โดยผลิตสื่อการเรียนรู้ให้มี จำนวนเพียงพอกับกลุ่มผู้เรียน เนื่องจากการเรียนรู้ด้วยวิธีการ Active Learning เป็นการจัดกิจกรรมเพื่อฝึกให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองส่งผลให้ใช้เวลามากกว่าการเรียนการสอนแบบบรรยาย
           -> จากสภาวการณ์ที่ไม่ปกติ ทำให้ครูผู้สอนต้องปรับรูปแบบของการจัดการเรียนการสอนด้วยการใช้เทคโนโลยี แต่มีครูบางส่วนที่มีความเคยชินกับการสอนในรูปแบบเดิม จึงต้องใช้เวลาในการเรียนรู้และพัฒนาตนเองให้ทันกับเทคโนโลยีที่มีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว
           -> ครูบางส่วนยังยึดรูปแบบการสอนแบบเดิม ๆ แต่ก็มีความพยายามทีีจะเปลี่ยนแปลงพัฒนาการสอนของตนเอง, การจัดการเรีบนรู้แบบ Active learning ต้องใช้เวลาในการเตรียมการสอนมาก ครูบางคนสอนหลายวิชาอาจมีปัญหาในการเตรียมความพร้อมฐ, ครูบางส่วนขาดทักษะในการใช้สื่อ เทคโนโลยีที่ทันสมัย
           -> ด้านครูผู้สอน มีตำแหน่งครูว่าง 4 ตำแหน่ง เนื่องจากมีการย้ายออกของครูและไม่มีคนมาแทนในตำแหน่งที่ย้ายออกไป
           -> การจัดการเรียนการสอนได้ไม่ครอบคลุม และต้องดำเนินการจัดการเรียนรู้ตามการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
           -> สถานการณ์โควิดทำให้เกิดความยากลำบากในการจัดการเรียนการสอน
           -> บุคลากรขาดความรู้ความเข้าใจในการจัดการเรียนรู้ที่จะพัฒนาสมรรถนะตามหลักสูตรฐานสมรรถนะ
           -> สถานการณ์โควิด 19 โรงเรียนเฝ้าระวัง
           -> ครูไม่เพียงพอ
           -> ครูไม่สามารถจัดกิจกรรมการเรียนการสอนได้ต่อเนื่อง เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ ระบาดของโควิด-19 ทำให้บางห้องเรียน/นักเรียนบางคนต้องหยุดเรียน กรณี เป็นกลุ่มเสี่ยงสูง บางกลุ่มสาระจัดกิจกรรมได้แต่ขาดความสมบูรณ์ ซึ่งต้องปฏิบัติตามมาตรการเฝ้าระวังการแพร่ระบาดของโรค
           -> ภายใต้สาธารณการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ครูต้องจัดการเรียนการสอนผ่านระบบ Online On-air On-demand
           -> ศูนย์การศึกษาพิเศษประจำจังหวัดสมุทรปราการ เป็นหน่วยงานราชการสังกัดสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ มีหน้าที่เตรียมความพร้อมให้กับเด็กพิการ ๙ ประเภท ซึ่งความรุนแรงของความพิการประเภทต่างๆนั้นจะไม่เท่ากัน ดังนั้นการจัดการเรียนการสอน Active Learning จึงเป็นไปตามศักยภาพของผู้เรียน ดังนั้นการจัดการเรียนการสอนให้ผู้เรียนเน้นเรื่องการลงมือทำนั้น ส่วนใหญ่จะเน้นการเล่นเป็นหลัก เล่นเพื่อการเรียน รู้ Active play สู่การการเรียนแบบ Active leaning ขั้น basic ส่วนในกลุ่มความพิการที่ไม่รุนแรง ผู้สอนสามารถเป็นผู้คอยช่วยเหลือและอำนวยความสะดวกเพื่อให้นักเรียนกล้าคิดกล้าแสดงออก มีกระบวนการแก้ปัญหาเพื่อฝึกให้ผู้เรียนเรียนรู้แบบ Active leaning ขั้น advance ต่อไป เพื่อให้นักเรียนมีความสุขในการทำงานและอยู่ร่วมกับเพื่อนมีทักษะปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมรอบข้างมากยิ่งขึ้นพร้อมส่งต่อผู้เรียนไปยังสถานศึกษาที่สูงขึ้นหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องต่อไป
           -> เนื่องจากการเรียนการสอนอยู่ในสถานการณ์ของโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19ทางโรงเรียนปรับการเรียนการสอนเป็นแบบHybridที่เน้นให้ครูได้สอนตามแนว Active Learning
           -> เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID–19) ทำให้การจัดกิจกรรมไม่ต่อเนื่อง
           -> ขาดงบประมาณในการจัดซื้อสื่อและอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอน
           -> การเรียนการสอนขาดความต่อเนื่อง เนื่องจากโควิด
           -> ครูขาดความรู้ความเข้าใจในการใช้แอปพลิเคชันหรือสื่อเทคโนโลยีในการ สอนแบบActive Learning
           -> เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด ๑๙ โรงเรียนจาเป็นต้องปรับการจัดการเรียนการสอนเป็นรูปแบบออนไลน์ และ On demand ทาให้มีข้อจากัดในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของผู้เรียน
           -> ด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา COVID 2019 ส่งผลกระทบทำให้ไม่สามารถจัดการเรียนรู้ได้อย่างเต็มที่
           -> สถานการณ์การแพร่ระบาดของ CVID-19 ทำให้การจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ของคุณครูไม่สามารถดำเนินการได้อย่างเต็มศักยภาพ
           -> ครูมีแรงบันดาลใจ มีอุดมการณ์ทาเพื่อเด็ก ร้อยละ 80
           -> ขาดแคลนครูดนตรี ครูกีฬา
           -> ยังไม่มีแบบอย่างการสอนแบบ Active Learning ที่เห็นได้ชัดให้ครูได้เห็น ได้ศึกษารายละเอียดในเชิงปฏิบัติ
           -> ครูได้รับการพัฒนายังไม่ครบทุกคน และยังขาดแบบอย่างเชิงปฏิบัติ
           -> ครูไม่เพียงพอ
           -> กิจกรรม Active Learning เป็นกิจกรรมที่ใช้เวลามาก เวลาเรียนน้อยไม่สอดคล้องกับเวลาในการจัดกิจกรรม
           -> ๑) ครูบางคนยังขาดประสบการณ์ การจะเปลี่ยนจากการสอนแบบเดิมมาใช้วิธีการสอนแบบใหม่ต้องใช้ความพยายาม และต้องมีแรงจูงใจในการจัดการเรียนรู้เชิงรุกจะต้องคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล ครูต้องแก้ปัญหาหลาย ๆ อย่าง ต้องวางแผนการจัดการเรียนรู้ให้ดี ๒) นักเรียนที่ไม่คุ้นเคย และไม่ทราบว่าตนเองความต้องการของการเรียนรู้เชิงรุก บางคนไม่พร้อมและไม่ให้ความร่วมมือในการเรียนรู้ ทำให้เกิดปัญหาในการจัดการเรียนรู้ การเรียนรู้เชิงรุกเป็นงานหนัก ผู้เรียนต้องแก้ปัญหา พูดในชั้นเรียน ร่วมมือกับเพื่อนฝูง หรือแสดงบทบาทเป็นผู้สอน แตกต่างจากความสะดวกในการแค่ฟังบรรยาย ผู้สอนจำเป็นต้องให้นักเรียนสร้างและปรับปรุงแฟ้มสะสมผลงานให้เป็นปัจจุบันเพื่อช่วยให้พวกเขาเห็นว่างานที่ทำเสร็จแล้วเป็นอย่างไรและมีคุณภาพระดับใด ๓) การวัดและประเมินผลยังไม่สอดคล้องกับกิจกรรม ไม่สะท้อนการคิดชั้นสูงของนักเรียน
           -> ครูได้รับการอบรมหรือพัฒนาวิธีการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning แต่ยังมีครูบางส่วนไม่ได้รับการอบรม
           -> วัสดุอุปกรณ์ไม่เพียงพอ ครูบางสาขาขาดแคลน สอนไม่ตรงเอก
           -> ช่วงอายของข้าราชการรุ่นเก่า กับครูพันธุ์ใหม่
           -> เวลาเรียนไม่พอ
     ด้านการบริหารจัดการ
           ผู้บริหารไม่ให้ความสำคัญกับการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning คิดเป็นร้อยละ 4.65 (8/172)
           นโยบายขาดความต่อเนื่อง คิดเป็นร้อยละ 43.60 (75/172)
           ขาดการมีส่วนร่วม คิดเป็นร้อยละ 19.77 (34/172)
           ขาดการนิเทศ ติดตาม หรือผู้ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning คิดเป็นร้อยละ 40.12 (69/172)
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
           -> 1. ในพื้นที่เกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 2. การจัดการเรียนรู้ตามวิถีใหม่ ทำให้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active learning เป็นไปอย่างจำกัด เพื่อความปลอดภัยอย่างสูงสุดของผู้เรียน
           -> ขาดงบประมาณที่เพียงพอ
           -> การนิเทศไม่ต่อเนื่อง
           -> ผู้เรียนต่างก็มีอาชีพการงานที่รับผิดชอบ ทำให้มีเวลาว่างที่ตรงกันยาก คนหนึ่งว่าง อีกคนไม่ว่าง ทำให้ปรับความคิดกันลำบาก แต่ต่างก็พยายามปรับความคิดที่จะพัฒนานวัตกรรมที่จะแก้ปัญหาให้ได้มากที่สุด
           -> สถานการณ์โควิดทำให้การบริหารจัดการมีการปรับเปลี่ยนรูปแบบไม่เกิดความต่อเนื่อง
           -> ด้านการบริหารหลักสูตร อยู่ในระหว่างปรับปรุงหลักสูตรฐานสมรรถนะ
           -> การเรียนการสอนไม่เป็นไปตามเป้าหมายที่วางไว้ ทำให้กิจกรรมไม่ต่อเนื่อง
           -> ยังต้องใช้ระยะเวลาในการปรับเปลี่ยนกระบวนการจัดการเรียนการสอนของครูผู้สอนเพื่อมุ่งเน้นให้ผู้เรียนมีส่วนสร้างสรรค์การเรียนรู้และพัฒนาตนเอง ตามความถนัดและความสนใจ
           -> 1).การบริหารจัดการในชั้นเรียนในรูปแบบ Active Learning เป็นการเรียนรู้ที่เกิดจากการลงมือทำ โดยครูผู้สอนได้มอบหมายให้นักเรียนไปปฏิบัติจริงที่บ้าน เพื่อส่งเสริมให้เกิดทักษะการเรียนรู้ที่สามารถนำไปใช้ในชีวิตจริง อาทิ การปลูกต้นไม้ การตอนกิ่ง เป็นต้น 2)ครูผู้สอนใช้เทคนิคการเรียนการสอนที่หลากหลาย อาทิ การสาธิต การทดลอง หรืออื่นใด เพื่อให้นักเรียนมีการคิด วิเคราะห์ ค้นหาคำตอบภายในชั่วโมงเรียน ซึ่งเป็นการใช้เวลาอย่างคุ้มค่า และครอบคลุมในเนื้อหาของบทเรียน เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19 ควรมีการลดระยะเวลาของการรวมกลุ่ม 3)ครูใช้การสอนแบบ New Normal หากไม่สามารถจัดการเรียนการสอนแบบ Onsite ได้ อาทิ การสอนแบบ Online โดยใช้ Google Meet Zoom และ On hand โดยรับใบงาน/ใบความรู้/อื่นใดที่ส่งเสริมให้นักเรียนมีความรู้ มีทักษะ และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันให้เหมาะสมตามช่วงวัย/ช่วงชั้น
           -> นิเทศ ติดตาม ผ่านระบบออนไลน์
           -> ผู้บริหารสนับสนุนให้ครูผู้สอนอบรมกิจกรรม Active Learning ตลาดนัดการเรียนรู้ออนไลน์วังจันเกษม นัด ๑ และนัด ๒ เพื่อให้ครูได้รับความรู้และนำมาปรับใช้กับ และผู้บริหารให้ความสำคัญต่อการจัดการเรียนการสอนโดยมีการจัดทำการประเมินห้องเรียนคุณภาพขึ้น
           -> ขาดการจัดสรรงบประมาณในการพัฒนาครูและบุคลากรที่พอเพียงจากหน่วยงานของรัฐ/เอกชนที่เกี่ยวข้อง
           -> ครูครบตามเกณฑ์ แต่ยังขาดแคลนครูบางกลุ่มสาระ เช่น ปฐมวัยและคณิตศาสตร์
           -> การส่งครูเข้ารับการอบรมการจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning มีจำนวนน้อย
           -> การจัดสรรงบประมาณ
           -> เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา COVID 2019 ทำให้ต้องมีการบริหารจัดการผ่านรูปแบบออนไลน์ แต่ด้วยครอบครัวของนักเรียนส่วนใหญ่มีสภาพครอบครัวที่ยากจน ทำให้ไม่สามารถจัดหาอุปกรณ์เครื่องมือสื่อสาร รวมทั้งปัญหาสัญญาณของอินเทอร์เน็ตที่ไม่เสถียร ส่งผลทำให้ไม่สามารถเรียนรู้และสื่อสารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
           -> สถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ส่งผลต่อรูปแบบการจัดการเรียนการสอนของแต่ละโรงเรียนที่เปลี่ยนแปลงไป ทำให้การจัดการเรียนการสอนด้วยรูปแบบ Active Learning ของครูแต่คนแตกต่างกันไป โดยมีการนำเทคโนโลยีมาใช้มากยิ่งขึ้น
           -> ขาดผู้ให้คำแนะนำเกี่ยวกับการจัดการเรียนรู้แบบ Active Learningอย่างใกล้ชิด
           -> โรงเรียนส่งเสริมสนับสนุนให้ครูจัดการเรียนการเรียนรู้แบบ Active Learning แต่ด้วยสถานการการแพร่ระบาดของ CVID-19 ทำให้ครูไม่สามารถจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ได้อย่างเต็มศักยภาได้ครบทุกสาระการเรีย
           -> การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไว้รัสโคโรนา (COVID-19)ส่งผลต่อการบริหารจัดการเรียนการสอนของโรงเรียน
           -> ผู้บริหารมีภาวะผู้นา ด้านการเปลี่ยนแปลงและมีวิสัยทัศน์ ทาเรื่องการพัฒนาเด็กสู่ศตวรรษที่ 21 มาประมาณ 10 ปี
           -> ไม่มีปัญหาและอุปสรรค
           -> 1. บริบทนักเรียนไม่พร้อมรับการการเรียนรู้แบบ Active Learning เนื่องไม่ได้รับการสร้างวินัยความรับผิดชอบต่อหน้าที่ด้านการเรียนตั้งแต่ต้น (จากระดับครอบครัว) 2. บริบทสังคม ชุมชมนอกระบบการศึกษา มีพฤติกรรมตรงข้ามกับความต้องการในการพัฒนาผู้เรียน
           -> การนิเทศติดตามไม่ต่อเนื่อง เนื่องจากศึกษานิเทศก์มีจำนวนน้อยมาก และภาระงานเอกสารด้านการรายงานข้อมูลมีจำนวนมากจนเกินกำลังของบุคลากร
           -> การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning ในรูปแบบ Online ทำให้นักเรียน ไม่ได้ลงมือปฏิบัติด้วยตนเองจึงทำให้ครูไม่สามารถดูแลผู้เรียนได้ อาจมีข้อจำกัดในการดูแล และควบคุมให้ผู้เรียนดำเนินกิจกรรมไปในทิศทางที่ผู้สอนวางแผนได้ยาก
           -> ครูผู้สอนมีภาระงานอื่นนอกเหนือจากกงานสอน ประกอบกับมีคาบสอนเป็นจำนวนมาก จึงส่งผลให้ครูผู้สอนมีเวลาเตรียมการสอนน้อย จัดการเรียนการสอนได้ไม่เต็มประสิทธิภาพ
           -> ๑) การสร้างวัฒนธรรมในการจัดการเรียนรู้ของครู ซึ่งจะนำไปสู่ของชั้นเรียนที่มีประสิทธิภาพต้องใช้เวลา
           -> ขาดงบประมาณในการจัดกิจกรรม
           -> งบประมาณไม่เพียงพอ
           -> การใช้การเรียนรู้แบบ Active Learning ในห้องเรียนที่มีขนาดใหญ่ จำนวนผู้เรียนมาก มีข้อจำกัดในการดูแล ดำเนินกิจกรรมให้ไปในทิศทางที่ผู้สอนวางแผนค่อนข้างยาก
           -> ขาดงบประมาณสนับสนุน และมีปัญหาเชิงระบบที่สำคัญคือการพัฒนาครูไม่ยึดสมรรถนะเน้นทฤษฎีมากกว่าปฏิบัติ ขาดนวัตกรรมการพัฒนาที่ส่งผลต่อการพัฒนาสู่มืออาชีพ
     ด้านสื่อ วัสดุอุปกรณ์
           ขาดสื่อ วัสดุอุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอนของผู้เรียน คิดเป็นร้อยละ 39.66 (115/290)
           เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว อุปกรณ์ไม่ทันสมัย คิดเป็นร้อยละ 38.62 (112/290)
           ขาดผู้ดูแล หรือซ่อมแซมสื่อ วัสดุอุปกรณ์ คิดเป็นร้อยละ 29.66 (86/290)
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
           -> 1. ในพื้นที่เกิดสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID - 19) การจัดการเรียนรู้ตามวิถีใหม่ ทำให้การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบ Active learning เป็นไปอย่างจำกัด เพื่อความปลอดภัยอย่างสูงสุดของผู้เรียน
           -> อาคารสถานที่ ห้องปฏิบัติการ พื้นที่จัดเก็บไม่เพียงพอ
           -> เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว อุปกรณ์ไม่ทันสมัย
           -> ขาดบุลลากรสนับสนุน (ครูธุรการและนักการภารโรง)
           -> ขาดงบประมาณในการจัดทำสื่อ เพราะการสอนแบบ Active Learning ต้องใช้งบประมาณมาก
           -> ยังขาดงบประมาณในการขยายสัญญาณ wifi ให้ครอบคลุมในทุกอาคารเรียน
           -> ครูผู้สอนบางส่วนยังขาดทักษะในการสร้างสื่อการสอนที่ทันต่อการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีในปัจจุบัน
           -> ระบุ เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทำให้โรงเรียนต้องจัดการเรียนรู้ในรูปแบบออนไลน์ การจัดการเรียนรู้แบบ Active Learning บางกิจกรรมต้องมีสื่อหรืออุปกรณ์ซึ่งนักเรียนไม่มีที่บ้าน
           -> ผู้เรียนมีอุปกรณ์ในการเรียนออนไลน์ไม่ครบทุกคน
           -> ครูมีการอบรมและผลิตสื่อที่หลากหลายตามความเหมาะสมศักยภาพของผู้เรียน
           -> ไม่สามารถจัดหาสื่อที่ต้องการเนื่องจากติดในระเบียบการจัดซื้อวัสดุ ครุภัณฑ์
           -> สื่อเฉพาะที่ครูผู้สอนจะต้องผลิตให้เหมาะสมกับนักเรียน
           -> ในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 บางครอบครัว ขาดการมีส่วนร่วม หรือขาดความรู้ความเข้าใจในการจัดประสบการณ์ อันเนื่องมาจากสาเหตุต่าง ๆ เช่น ภาระงาน ขาดการสื่อสารทำความเข้าใจระหว่างครูและผู้ปกครอง
           -> ขาดบุคลากรที่มีความรู้ด้าน ICT เทคโนโลยีดิจิดัลทางการศึกษา
           -> การใช้สื่อเทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการเรียนการสอน อาจมีปัญหาสาหรับเด็กปฐมวัย เนื่องจากเด็กในวัยนี้ค่อนข้างมีสมาธิในการเรียนสั้น
           -> ทั้งระดับอนุบาล และ ประถมศึกษา มีความพร้อมเรื่องสื่อ อุปกรณ์ ตามแนวทางด้วยวิธีการสอนแบบนวัตกรรมมอนเทสซอรี
           -> ขาดงบประมาณในการจัดซื้อ
           -> ผู้เรียนขาดอุปกรณ์ในการเรียน เช่น โทรศัพท์ ไอแผด คอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ค รวมทั้งสัญญาณอินเตอร์เน็ต สำหรับการศึกษาเรียนรู้
           -> ครูบางส่วนยังมีการใช้เทคโนโลยีในการสอนน้อยเกินไป
           -> ขาดบุคที่เชี่ยวชาญเฉพาะด้านการพัฒนาสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัลอย่างต่อเนื่อง
     อื่นๆ ระบุ
      -> อยู่ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดไวรัสโคโรน่ากิจกรรมพัฒนาผู้เรียนโรงเรียนยังไม่ได้ดำเนินการเพื่อป้องกันและปฏิบัติตามมาตรการเว้นระยะห่างและการร่วมกิจกรรม
      -> สถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
      -> สถานการณ์โรคระบาดไวรัสโคโรนา 2019 ทำให้ไม่สามารถจัดการเรียนการสอนแบบ Active Learning ได้
      -> ทางโรงเรียนต้องจัดสรรงบประมาณจำนวนมากในการจัดหาสื่อ อุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอน จัดเทคโนโลยีให้มีความทันสมัยและเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน จากสถานการณ์โควิด-19ต้องจัดการเรียนการสอนรูปแบบออนไลน์เพื่อให้นักเรียนเกิดการเรียนรู้มากที่สุด
      -> งบประมาณสนับสนุนด้านสื่อและเทคโนโลยี
      -> อาทิ อุปกรณ์ที่ทันสมัย ไม่สามารถซื้อได้ในเงินงบประมาณ
      -> เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ทำให้การจัดกิจกรรมเป็นไปด้วยความยากลำบาก
      -> โรงเรียนอยากพัฒนาด้านห้องและอุปกรณ์ ICT ให้เพียงพอกับเด็กทุกคน และมีประจาชั้นเรียนเพื่อสะดวกในการค้นคว้า (
      -> ขาดแคลนงบประมาณในการสนับสนุนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่จะสามารถส่งเสริมทักษะต่าง ๆ
      -> อาคารสถานที่ไม่เพียงพอต่อการจัดกิจจกรรม โดยเฉพาะห้องเรียนและห้องเรียนพิเศษ
      -> การใช้การเรียนรู้แบบ Active Learning เป็นการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เน้นนักเรียนเป็นผู้ลงมือปฏิบัติ ไม่เน้นเนื้อหา แต่ในการสอบเรียนต่อในทุกระดับ ยังคงเน้นเนื้อหาความรู้
      -> งบประมาณไม่เพียงพอ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  
  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  
  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 13.13 (52/396)
      พึงพอใจมาก คิดเป็นร้อยละ 33.84 (134/396)
      พึงพอใจปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 9.60 (38/396)
      พึงพอใจน้อย คิดเป็นร้อยละ 0.25 (1/396)
      พึงพอใจน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/396)
1.2 การจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมืองให้มีความทันสมัยสอดรับกับวิถีใหม่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของท้องถิ่น และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง
  1) สภาพความก้าวหน้า
      สถานศึกษามีการจัดกิจกรรมในการใช้ชีวิตประจำวันที่แสดงถึงความตระหนักและเห็นคุณค่าในประวัติศาสตร์ สังคม วัฒนธรรมของครอบครัว สถานศึกษาและชุมชน คิดเป็นร้อยละ 15.99 (190/1188)
      สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนใช้ชีวิตประจำวันร่วมกับผู้อื่นโดยรักษาสิทธิของตน เคารพสิทธิของผู้อื่น และรับผิดชอบตามบทบาทหน้าที่ของตนเอง และสิ่งแวดล้อม คิดเป็นร้อยละ 16.41 (195/1188)
      สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นให้ผู้เรียนกำกับตนเองในการใช้จ่ายของตนเอง และครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 12.79 (152/1188)
      สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้นใฝ่ทำความดี และอยู่ร่วมกับผู้อื่นด้วยดีบนหลักปฏิบัติของศาสนาที่นับถือ คิดเป็นร้อยละ 15.74 (187/1188)
      สถานศึกษาได้พัฒนาสื่อที่ทันสมัย สอดรับกับวิถีใหม่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน คิดเป็นร้อยละ 10.10 (120/1188)
      สถานศึกษามีการบูรณาการด้านการผลิตและการใช้สื่อการเรียนการสอนร่วมกับสถานศึกษาอื่น คิดเป็นร้อยละ 6.40 (76/1188)
      สถานศึกษาเปลี่ยนวิธีการสอนเป็น แนว Active learning และเสริมทักษะในการค้นคว้าหาความรู้กระแสหลัก กระแสรองในทางประวัติศาสตร์ให้เด็กสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง คิดเป็นร้อยละ 10.44 (124/1188)
      สถานศึกษาจัดการเรียนการสอนที่ให้ผู้เรียนคิดเป็น วิจารณ์เนื้อหาได้ แลแสร้างองค์ความรู้ใหม่ คิดเป็นร้อยละ 8.75 (104/1188)
      สถานศึกษาสามารถจัดการเรียนการสอนไม่ให้ผู้เรียนเบื่อที่จะเกิดการวิเคราะห์เรียนรู้ สิ่งรอบตัวแม้บางเนื้อหาที่ผู้เรียนเห็นในหนังสือเรียน ไม่ตรงกับความจริงที่เกิดขึ้น คิดเป็นร้อยละ 9.01 (107/1188)
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
      -> การจัดการเรียนการสอนโดยบูรณาการกับกิจกรรมอื่นๆ - นักเรียนร่วมกิจกรรมหน้าเสาธง เพื่อแสดงความเคารพสามสถาบันหลักคือ ชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์ ด้วยความจงรักภักดี และด้วยความศรัทธาเลื่อมใสในศาสนาที่ตนนับถือ - นักเรียนร่วมกิจกรรมประชาธิปไตย โรงเรียนมีกิจกรรมในการปลูกฝังวิถีประชาธิปไตยให้กับนักเรียน โดยการส่งเสริมให้นักเรียนทุกคนได้เรียนรู้ ร่วมกิจกรรม นำหลักปฏิบัติตามวิถีประชาธิปไตยไปใช้ในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ มีการส่งเสริมกิจกรรมการเลือกตั้ง เช่น การเลือกตั้งหัวหน้าห้อง ประธานชุมนุม ดังเช่นการเลือกประธานนักเรียนของโรงเรียนหนองโตง”สุรวิทยาคม” ที่ผ่านมา นักเรียนได้ฝึกการใช้สิทธิ์ ตามขั้นตอนคือ แสดงตนขอรับบัตรเลือกตั้ง รับบัตรเลือกตั้ง เข้าคูหากากบาท หย่อนบัตรเลือกตั้ง เข้าออกให้ถูกตามช่องทางที่กำหนดให้ - นักเรียนร่วมปฏิบัติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง เป็นกรอบแนวคิด ซึ่งมุ่งให้ทุกคนสามารถพึ่งพาตัวเองได้ รวมถึงการพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น จนเกิดความยั่งยืน คำว่า พอเพียง คือ การดำเนินชีวิตแบบทางสายกลาง โดยตั้งอยู่บนหลักสำคัญสามประการ คือ ความพอประมาณ ความมีเหตุผล และการมีภูมิคุ้มกันที่ดี นักเรียนจึงน้อมนำหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิตประจำวัน ด้วยการฝึกการใช้จ่ายเงินในสิ่งที่จำเป็นด้วยตนเอง ปลูกฝังนิสัยการออม ในโครงการออมทรัพย์ของโรงเรียน นักเรียนจะนำเงินออมมาฝากกับครูประจำชั้น และจะมีเจ้าหน้าที่ธนาคารออมสินมารับเงินออมทุกวันศุกร์ - กลุ่มสาระสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ได้จัดกิจกรรมเสริมตามวิสัยทัศน์ของโรงเรียน คือ “นักเรียนมีความรู้คู่คุณธรรม น้อมนำเศรษฐกิจพอเพียงเคียงคู่สิ่งแวดล้อม งามพร้อมวัฒนธรรมท้องถิ่น” ได้จัดกิจกรรมให้นักเรียนตั้งแต่สายชั้นอนุบาล1-สายชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เข้าร่วมกิจกรรมอบรมคุณธรรม จริยธรรม ตามความเหมาะสม เช่น โครงการสู่ร่มอาราม (พานักเรียนเข้าไปเรียนรู้หลักธรรมและปฏิบัติจริงที่วัด) โครงการร่วมกิจกรรมเวียนเทียนในวันสำคัญทางศาสนาที่วัดจุมพลสุทธาวาส ร่วมงานประเพณีลอยกระทง โดยขอรับบริจาคกระทงและรางวัลสอยดาว จากผู้ปกครองเพื่อนำไปมอบให้กับทางวัดต่างๆในชุมชน เป็นประจำทุกปี การเพื่อปลูกฝังต้นกล้าในการทำความดี มุ่งเน้นให้นักเรียนใฝ่ทำความดีในชีวิตประจำวัน และอยู่กับผู้อื่นด้วยดีบนหลักปฏิบัติของศาสนาที่นับถือ
      -> – โรงเรียนราชวินิตบางแก้วมีการจัดกิจกรรมในการใช้ชีวิตประจำวันที่แสดงถึง ความตระหนักและเห็นคุณค่าในประวัติศาสตร์ สังคม วัฒนธรรมของครอบครัว สถานศึกษา และชุมชน เช่น การเข้าร่วมประเพณีรับบัวของอำเภอบางพลี เป็นประจำทุกปี โดยมีการแสดงวิถีชาวมอญ มีการจัดกิจกรรมวันสถาปนาโรงเรียนทุกวันที่ 9 มีนาคมของทุกปี เพื่อระลึกถึงพระบารมีปกเกล้าของรัชกาลที่ 9 ที่ทรงก่อตั้งโรงเรียนราชวินิตบางแก้ว เป็นต้น และยังมุ่งเน้นให้ผู้เรียนใช้ชีวิตประจำวันร่วมกับผู้อื่นโดยรักษาสิทธิของตน เคารพสิทธิของผู้อื่น และรับผิดชอบตามบทบาทหน้าที่ของตนเองและสิ่งแวดล้อม กำกับตนเองในการใช้จ่ายของตนเองและครอบครัว จัดการเรียน การสอนที่มุ่งเน้นใฝ่ทำความดี และอยู่ร่วมกับผู้อื่นด้วยดีบนหลักปฏิบัติของศาสนาที่นับถือ พัฒนาสื่อที่ทันสมัยสอดรับกับวิถีใหม่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน – โรงเรียนราชวินิตบางแก้วใช้วิธีสอนเป็นแนว Active Learning และเสริมทักษะ ในการค้นคว้าหาความรู้ในทางประวัติศาสตร์ ให้นักเรียนสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง คิดเป็น และวิจารณ์เนื้อหาได้ และสร้างองค์ความรู้ใหม่ – รูปภาพประกอบการจัดกิจกรรมในการใช้ชีวิตประจำวันที่แสดงถึงความตระหนักและ เห็นคุณค่าในประวัติศาสตร์ สังคม วัฒนธรรมของครอบครัว สถานศึกษาและชุมชน
      -> โรงเรียนได้มีการจัดกิจกรรมที่แสดงถึงความตระหนัก และเห็นคุณค่าในประวัติศาสตร์ สังคม วัฒนธรรมครอบครัว สถานศึกษาและชุมชน จัดการเรียนการสอนที่มุ่งเน้น ให้ผู้เรียนอยู่ร่วมกับผู้อื่นโดยรักษาสิทธิของตน เคารพสิทธิของผู้อื่น และรับผิดชอบตามบทบาทหน้าที่ของตนเอง และสิ่งแวดล้อม มุ่งเน้นให้ผู้เรียนกำกับตนเองในการใช้จ่ายของตนเอง และครอบครัว จัดการเรียนการสอนที่ มุ่งเน้นใฝ่ทำความดี และอยู่ร่วมกับผู้อื่นด้วยดีบนหลักปฏิบัติของศาสนาที่นับถือ อีกทั้งพัฒนาสื่อสอดรับกับวิถีใหม่ เหมาะสมกับผู้เรียน บูรณาการใช้สื่อการเรียนการสอนร่วมกับหน่วยงานอื่น ๆ ใช้วิธีการสอน Active Leaning และ เสริมทักษะในการค้นคว้าหาความรู้ทางประวัติศาสตร์ ให้ผู้เรียนสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเอง คิดวิเคราะห์เนื้อหาได้ และสร้างองค์ความรู้ใหม่ ซึ่งจะเกิดจากการเรียนรู้ของผู้เรียน สถานศึกษามีการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์ ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของท้องถิ่น และการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมือง ที่เข้มแข็ง โดยใช้แหล่งเรียนรู้ในท้องถิ่น
      -> สถานศึกษาจัดกิจกรรมตามโครงการเสริมสร้างคุณธรรม จริยธรรม และธรรมาภิบาลในสถานศึกษา (โครงการโรงเรียนสุจริต)
      -> สถานศึกษาจัดการเรียนรู้โดยให้นักเรียนได้ศึกษาแหล่งประวัติศาสตร์ในท้องถิ่น เข้าศึกษาในสถานที่จริง เพื่อสร้างความภาคภูมิใจในท้องถิ่นของตนเอง
      -> สถานศึกษาจัดการเรียนการสอน และบูรณาการให้ผู้เรียนมีความตื่นรู้ในการปกครองระบอบประชาธิปไตย รู้จักสิทธิและหน้าที่และฝึกการโต้แย้งประเด็นทางสังคมและการเมือง
      -> ในการจัดการเรียนการสอนในรายวิชาประวัติศาสตร์ สถานศึกษา ยังขาดบุคลากที่จบด้านนี้โดยตรง ทำให้การจัดการเรียนการสอนในรายวิชานี้ ไม่เต็มที่ และวิทยาลัยมุ่งเน้นในสายอาชีพที่นักเรียนสนใจเเละสามารถนำไปประกอบิาชีพได้
      -> **เป็นสถานศึกษารับตรวจกรณีพิเศษ**
      -> **เป็นสถานศึกษารับตรวจกรณีพิเศษ**
  2) ปัญหาและอุปสรรค
     ด้านครูผู้สอน (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
           ครูขาดการพัฒนาเทคนิคและวิธีการจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับวิชาประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมืองให้น่าสนใจ คิดเป็นร้อยละ 30.10 (90/299)
           ครูยังไม่มีความพร้อมในการนำเทคนิค วิธีการจัดการเรียนการสอนในรูปแบบสื่อออนไลน์ หรือเทคโนโลยีมาประกอบการสอนวิชาประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมือง คิดเป็นร้อยละ 20.74 (62/299)
           ครูขาดความเข้าใจเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน Active Learning มาประยุกต์ใช้ คิดเป็นร้อยละ 21.74 (65/299)
           ครูผู้สอนมีภาระงานมาก คิดเป็นร้อยละ 35.45 (106/299)
           อื่น ๆ (ถ้ามี) ระบุ
     ด้านการบริหารจัดการ (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
           ผู้บริหารสถานศึกษาไม่ให้ความสำคัญเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมืองให้มีความทันสมัย คิดเป็นร้อยละ 5.98 (14/234)
           นโยบายขาดความต่อเนื่อง คิดเป็นร้อยละ 26.92 (63/234)
           ขาดการมีส่วนร่วมระหว่างปราชญ์ชาวบ้าน ผู้ปกครอง สถานศึกษาและผู้เรียนในการสร้างการเรียนรู้เกี่ยวกับการสอนประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมืองให้มีความทันสมัย คิดเป็นร้อยละ 35.04 (82/234)
           ผู้เรียนไม่ค่อยสนใจในการเรียนเกี่ยวกับวิชาประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมือง เพราะคิดว่าน่าเบื่อ ไม่ทันสมัย คิดเป็นร้อยละ 38.89 (91/234)
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
           -> เวลาเรียน 1 คาบต่อสัปดาห์ไม่เพียงพอกับบทเรียน ทำให้การเรียนการสอนขาดความต่อเนื่อง
           -> การจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ มีส่วนทำให้การจัดกิจกรรมขาดความหลากหลายและการมีส่วนร่วมในการเข้าร่วมกิจกรรมที่นำไปสู่การ Action
           -> เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา COVID 2019 ส่งผลทำให้ไม่สามารถบริหารจัดการหรือจัดการเรียนการสอนได้ตามปกติได้
           -> ขาดการวางแผนการการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมืองให้มีความทันสมัย สอดรับกับวิถีใหม่เหมาะสมกับวัยของผู้เรียน ควบคู่ไปกับการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ของท้องถิ่นและการเสริมสร้างวิถีชีวิตของความเป็นพลเมืองที่เข้มแข็ง ที่เป็นรูปธรรมและขาดความต่อเนื่อง
           -> ระบุสถานการการแพร่ระบาดของ CVID-19 โรงเรียนจัดการเรียนการสอนแบบออนไลน์ จึงไม่สามารถจัดการเรียนการสอนโดยการมีส่วนร่วมของปราชญ์ชาวบ้าน ผู้ปกครองได้
           -> สภาพการเรียนการสอน เพราะการสอนวิชาประวัติศาสตร์ ที่ผ่านมายังเป็นแบบปกติ คือ ครูเป็นผู้นาเสนอเพียงอย่างเดียว ยากที่จะทาให้ผู้เรียนสร้างความคิดรวบยอดหรือมโนทัศน์ทางประวัติศาสตร์ ขาดการเสวนากลุ่ม
           -> พัฒนาผู้นารุ่นใหม่ต้องใช้เวลา
           -> ไม่มีปัญหา
           -> ขาดแคลนงบประมาณในการบริหารจัดการเกี่ยวกับการสอนประวัติศาสตร์ และหน้าที่พลเมืองให้มีความทันสมัยและบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถอย่างแท้จริง
     ด้านสื่อ วัสดุอุปกรณ์ (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
           บริเวณที่ตั้งของสถานศึกษาขาดแหล่งเรียนรู้ประวัติศาสตร์ชุมชนท้องถิ่นที่น่าสนใจ คิดเป็นร้อยละ 30.56 (55/180)
           ขาดสื่อ เทคโนโลยี วัสดุอุปกรณ์ที่ทันสมัยมาสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนประวัติศาสตร์วิถีใหม่ คิดเป็นร้อยละ 78.33 (141/180)
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
           -> เนื่องจากในการดำเนินชีวิตแบบวิถีใหม่ในยุคที่มีโรคระบาด covid 19 ทำให้นักเรียนไม่สามารถศึกษาจากแหล่งเรียนรู้ภายนอก ทำให้นักเรียนไม่สามารถศึกษาได้จากสถานที่จริง
           -> มีความต้องการสื่อและอุปกรณ์ประกอบการสอนที่หลากหลาย ทันสมัย และเข้าใจง่าย
           -> ไม่มีปัญหา
           -> ขาดการใช้สื่อ ประเภทแหล่งเรียนรู้ และภูมิปัญญาท้องถิ่น ในพื้นที่เพื่อจัดการเรียนการสอนเกี่ยวกับเรื่องประวัติศาสตร์ท้องถิ่น
           -> เนื้อหาในหนังสือเรียนมีความล้าสมัย ไม่พัฒนาเนื้อหาให้มีความเป็นสมัยใหม่ ไม่มุ่งเน้นความเป็นท้องถิ่นอย่างแท้จริง
           -> ขาดสื่อเทคโนโลยี หรือเครื่องมือสื่อสาร เช่น ไอแพด ให้เด็กได้เรียนออนไลน์
           -> ขาดครูดูแล และจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ห้องพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้ที่ทางสถานศึกษาจัดทำขึ้น
           -> ไม่มีปัญหา
      อื่นๆ ระบุ
      -> โรงเรียนบ้านเกาะเต่า เป็นโรงเรียนเขตพื้นที่พิเศษตามประกาศกระทรวงการคลัง ซึ่งเป็นโรงเรียนพื้นที่ ที่อยู่ห่างไกลยากต่อการเดินทางสัญจรไปในพื้นที่ต่าง ๆ และการเดินทาง ในแต่ละครั้งมีค่าใช้จ่ายที่สูงมากจึงทำให้การศึกษาในเรื่องราวเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ท้องถิ่น ในเขตพื้นที่ของอำเภอ ในเขตพื้นที่ของจังหวัด ในเขตพื้นที่ของภาคใต้ และในเขตพื้นที่ของประเทศ ทำให้นักเรียน ไม่สามารถารถเดินทางไปทัศนศึกษาได้อย่างครบถ้วนตามเนื้อหาสาระ โดยนักเรียนไม่ได้เกิดกระบวนการเรียนรู้ จากสถานที่จริงตามบรรลุเป้าหมายที่วางไว้
      -> เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 (COVID-19) ทำให้การจัดกิจกรรมเป็นไปด้วยความยากลำบาก
      -> 1) ขาดการมีส่วนร่วมระหว่างปราชญ์ชาวบ้าน ผู้ปกครอง สถานศึกษาและผู้เรียนในการสร้างการเรียนรู้เกี่ยวกับการสอนประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมืองให้มีความทันสมัย 2) ผู้เรียนไม่ค่อยสนใจในการเรียนเกี่ยวกับวิชาประวัติศาสตร์และหน้าที่พลเมืองเพราะคิดว่าน่าเบื่อ ไม่ทันสมัย
      -> ปีงบประมาณ ๒๕๖๕ มีการจัดการเรียนการสอนออนไลน์ ส่งผลต่อประสิทธิภาพการเรียนรู้ของนักเรียน ซึ่งนักเรียนบางคนมีข้อจำกัดในการเรียนรู้ด้วยเครื่องมือและสัญญาณอินเตอร์เน็ต เป็นต้น
      -> ขาดการเรียนรู้ผ่านชุมชน ท้องถิ่นอย่างสม่ำเสมอ เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
      -> ผู้เรียนไม่ค่อยสนใจในการเรียนเกี่ยวกับวิชาประวัติศาสตร์และหน้าที่ พลเมือง เพราะคิดว่าน่าเบื่อ ไม่ทันสมัย
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  
  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  
  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 9.85 (39/396)
      พึงพอใจมาก คิดเป็นร้อยละ 35.10 (139/396)
      พึงพอใจปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 10.35 (41/396)
      พึงพอใจน้อย คิดเป็นร้อยละ 0.25 (1/396)
      พึงพอใจน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/396)
1.3 การพัฒนาคุณภาพและประสิทธิภาพครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกประเภทให้มีสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล รวมทั้งการจัดการเรียนการสอน
  1) สภาพความก้าวหน้า
     (1) ครูได้รับการพัฒนาด้านสมรรถนะทางภาษาหรือไม่
           ได้รับการพัฒนา คิดเป็นร้อยละ 42.42 (168/396)
           ไม่ได้รับการพัฒนา (ข้ามไปตอบข้อ (5) คิดเป็นร้อยละ 15.40 (61/396)
     (2) ครูได้รับการพัฒนาด้านสมรรถนะทางภาษาโดยหน่วยงานใด
           สพฐ./สอศ./สช./กศน. คิดเป็นร้อยละ 50.00 (106/212)
           สพป./สพม./ศธจ./กศจ.จังหวัด คิดเป็นร้อยละ 36.32 (77/212)
           หน่วยงานภายนอก เช่น มหาวิทยาลัย คิดเป็นร้อยละ 21.23 (45/212)
           อื่นๆ ระบุ
           -> 1. The Lasallian East Asia District (LEAD) 2. สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ
           -> สสวท.
           -> ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 4 จังหวัดตรัง
           -> ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 4 จังหวัดตรัง
           -> โรงเรียนมีการจัดอบรมให้ครูในโรงเรียน
           -> กิจกรรมของชุมชน
           -> Coaching English
           -> กศน.
           -> ผ่านการอบรมจากหน่วยงานต้นสังกัด และการเรียนรู้ผ่านกลุ่มเครือข่าย และการศึกษาด้วยตนเองจากแฟตฟอร์มต่างๆที่มีการเผยแพร่ประชาสัมพันธ์
           -> ไม่ได้รับการสนับสนุน
           -> โปรแกรม speexx
           -> ศึกษาและอบรมด้วยตนเองผ่านอินเทอร์เน็ต
           -> บุคลากรครูต่างชาติ จัดอบรมให้คุณครู ภาคเรียนละ 1-2 ครั้ง
           -> ยังไม่ได้รับการพัฒนา
           -> สถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการพลเรือน Thai Mooc
           -> หน่วยงานเอกชนอื่นๆที่เข้ามาช่วยสนับสนุน
           -> โรงเรียนจัดอบรมให้ครู
           -> ครูและบุคลากรภายในโรงเรียน และกลุ่มสาระภาษาต่างประเทศ
           -> สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
           -> ดำเนินการส่งเสริมสนับสนุนให้ครูและนักเรียนเข้ารับการฝึกอบรมหลักสูตร “อุ่นใจไซเบอร์” ของบริษัท AIS
           -> บริษัทเอกชน
           -> การอบรมทาง Online
           -> สถาบันวิจัยการเรียนรู้
           -> สำนักบริหารงานการศึกษาพี่เศษ
           -> โรงเรียนคุณภาพและโรงเรียนเครือข่าย
           -> Cambridge Placement Test
           -> โรงเรียนบ้านนา
           -> บริษัท อจท.
           -> ศูนย์ HCEC
           -> ภาคีเครือข่าย
           -> HCEC ศูนย์พัฒนาศักยภาพบุคลเพื่อความเป็นเลิศ
           -> สสวท.
           -> โรงเรียนดำเนินการจัดโครงการเอง
           -> ผ่านกลุ่ม Line Facebook การส่งงานผ่าน E-mail , Trello , Google form , Google sheet การจัดการเรียนรู้โดยใช้ Google classroom สอนออนไลน์ด้วยโปรแกรม Zoom Google meet กลุ่ม Facebook
           -> โรงเรียนจัดอบรม
           -> การอบรมออนไลน์
           -> ฝ่ายการศึกษาและอบรมอัครสังฆมณฑลท่าแร่-หนองแสง
           -> ศูนย์พัฒนาภาษา
           -> ศึกษาด้วยตนเองจากกลุ่มผู้สนใจร่วมกันทางอินเตอร์เน็ต
           -> บริษัท อจท./จัดอบรมภายใน
     (3) เมื่อได้รับการพัฒนาด้านสมรรถนะทางภาษา ได้นำไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนหรือไม่
           ได้นำไปใช้ ระบุ
           ไม่ได้นำไปใช้ คิดเป็นร้อยละ 2.53 (10/396)
     (4) ครูมีการนำสมรรถนะด้านภาษาไปขยายผลให้กับครูใน/นอกสถานศึกษาหรือไม่อย่างไร
           มี ระบุ
           ไม่มี คิดเป็นร้อยละ 16.67 (66/396)
     (5) ครูได้รับการพัฒนาด้านสมรรถนะทางด้านดิจิทัลหรือไม่
           ได้รับ
           ไม่ได้รับ (ข้ามไปตอบข้อ 2) คิดเป็นร้อยละ 7.83 (31/396)
     (6) ครูได้รับการพัฒนาด้านสมรรถนะทางด้านดิจิทัลโดยหน่วยงานใด
           สพฐ./สอศ./สช./กศน. คิดเป็นร้อยละ 52.80 (132/250)
           สพป./สพม./ศธจ./กศจ.จังหวัด คิดเป็นร้อยละ 36.00 (90/250)
           หน่วยงานภายนอก เช่น มหาวิทยาลัย คิดเป็นร้อยละ 18.00 (45/250)
           อื่นๆ ระบุ
           -> 1. คณะกรรมการประสานและส่งเสริมการศึกษาเอกชนภาคเหนือ 2. โรงเรียนลาซาลโชติรวีนครสวรรค์
           -> โรงเรียนจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการหลักสูตร ส่งเสริมสมรรถนะดิจิทัล
           -> สสวท
           -> ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 4 จังหวัดตรัง
           -> ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 4 จังหวัดตรัง
           -> โรงเรียนมีการจัดอบรมให้ครูในโรงเรียน
           -> จากบุคลากรที่มีความรู้ความสามารถภายในสถานศึกษา
           -> บริษัท เอ็นเอสอาร์ เทคโนโลยี
           -> กศน.
           -> โรงเรียนจัดอบรมพัฒนาเอง
           -> ต้องได้รับการสนับสนุน
           -> หน่วยงานภายในสถานศึกษา
           -> การอบรมภายในโรงเรียนโดยครูที่มีความรู้ความสามารถ
           -> บริษัทอักษร เอ็ดดูเคชั่น จำกัด (มหาชน) กระทรวงวัฒนธรรม Thai Mooc
           -> ถ่ายทอดความรู้ไปยังคณะครูในสถานศึกษาและต่างประเทศ
           -> โรงเรียนจัดอบรม
           -> สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์
           -> ครูในศูนย์คอมพิวเตอร์โรงเรียนเทพศิรินทร์ สมุทรปราการ
           -> สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ
           -> การอบรมทาง Online
           -> สถาบันวิจัยการเรียนรู้
           -> ....โรงเรียนคุณภาพและโรงเรียนในเครือข่าย
           -> ศึกษาธิการ ภาค7
           -> พัฒนาโดยโรงเรียนเป็นหน่วยจัดอบรมเอง
           -> ศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเองด้วยรูปแบบ Online
           -> รร.จัดอบรมโดยใช้คุณครูที่มีความรู้ความสามารถเป็นวิทยากร
           -> ดำเนินการกันเองภายในสถานศึกษา จัดอบรมบุคลากร
           -> จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการในระดับสถานศึกษา
           -> ศูนย์ HCEC
           -> ครูคอมพิวเตอร์ในโรงเรียนเป็นวิทยากร
           -> สถานศึกษา
           -> โรงเรียนอนุบาลทัพทัน(อุดมพิทยา) จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่องการสร้างสื่อการสอนออนไลน์ด้วยกระบวนการ PLC
           -> บุคลากรภายในสถานศึกษาที่มีความชำนาญ
           -> การอบรมออนไลน์ตามความสนใจของแต่ละบุคคล
           -> การศึกษาด้วยตนเอง หรือจากหน่วยงานที่ผู้สอนสนใจ
           -> ศึกษาเรียนรู้ด้วยตนเอง
           -> สสวท.
           -> โรงเรียนดำเนินการจัดโครงการเอง
           -> เรียนรู้ด้วยตนเอง
           -> อบรมในรูปแบบออนไลน์
           -> ฝ่ายการศึกษาและอบรมอัครสังฆมณฑลท่าแร่-หนองแสง
           -> ํYoutube
           -> ศึกษาด้วยตนเองจากอินเตอร์เน็ต
           -> อจท./จัดอบรมภายใน
     (7) ครูมีการนำสมรรถนะด้านดิจิทัลไปใช้ในการจัดการเรียนการสอนหรือไม่อย่างไร
           มี ระบุ
           ไม่มี (ข้ามไปตอบข้อ 2) คิดเป็นร้อยละ 3.54 (14/396)
     (8) ครูสามารถนำสมรรถนะด้านดิจิทัลไปขยายผลให้กับครูใน/นอกสถานศึกษาได้หรือไม่อย่างไร
           ได้ ระบุ
           ไม่ได้ คิดเป็นร้อยละ 8.08 (32/396)
  2) ปัญหาและอุปสรรค
     ด้านครูผู้สอน
           ครูขาดการพัฒนาสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล คิดเป็นร้อยละ 34.68 (77/222)
           ครูขาดขวัญและกำลังใจ หรือแรงกระตุ้นพัฒนาสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล คิดเป็นร้อยละ 22.97 (51/222)
           ครูมีภาระงานมาก คิดเป็นร้อยละ 50.00 (111/222)
           อื่น ๆ (ถ้ามี) ระบุ
     ด้านการบริหารจัดการ
           นโยบายขาดความต่อเนื่อง คิดเป็นร้อยละ 26.29 (56/213)
           ผู้บริหารไม่ให้ความสำคัญกับการพัฒนาสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัลของครูและบุคลากรทางการศึกษา คิดเป็นร้อยละ 6.10 (13/213)
           ขาดงบประมาณสนับสนุน คิดเป็นร้อยละ 57.75 (123/213)
           ขาดการนิเทศ ติดตาม คิดเป็นร้อยละ 20.66 (44/213)
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
           -> 1. สพฐ. ควรจัดให้มีการประชุมเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบของสำนักงานเขตพื้นที่ การศึกษาและเจ้าหน้าที่ศูนย์ HCEC เพื่อทราบวัตถุประสงค์ รวมทั้งกำหนดเป้าหมายและตัวชี้วัดที่ชัดเจนในการพัฒนาภาษาอังกฤษของครู และมีการติดตามผลเป็นระยะอย่างต่อเนื่องและสม่ำเสมอ
           -> งบประมาณสนับสนุนไม่เพียงพอในการบริหารจัดการให้เกิดสภาพคล่องตัว
           -> ปัญหาการแพร่ระบาดของโรค Covid-19
           -> กำลังทรัพย์ไม่มี
           -> งบประมาณสำหรับการอบรมพัฒนาแบบ On Line
           -> การจัดซื้อวัสดุ อุปกรณ์
           -> .ไม่มี..
           -> เครื่องมืออุปกรณ์ชำรุด
           -> บุคลากรทางการศึกษาที่มีความสามารถทางภาษาและดิจิทัลมีไม่เพียงพอ
           -> ขาดสื่อ วัสดุอุปกรณ์
     ด้านสื่อ วัสดุอุปกรณ์
           ขาดสื่อ วัสดุอุปกรณ์ ที่นำมาใช้ในการพัฒนาสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล คิดเป็นร้อยละ 41.16 (121/294)
           เทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงรวดเร็ว อุปกรณ์ไม่ทันสมัย คิดเป็นร้อยละ 36.73 (108/294)
           ขาดบุคลากรที่เชี่ยวชาญเฉพาะด้านการพัฒนาสมรรถนะทางภาษาและดิจิทัล คิดเป็นร้อยละ 31.29 (92/294)
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
           -> สัญญาณอินเตอร์เน็ตไม่เสถียร
           -> สื่อวัสดุ อุปกรณ์มีใช้จำกัด
           -> อุปกรณ์ที่มีความเหมาะสมกับผู้เรียน
           -> ระบบที่ใช้ในการพัฒนามีความซ้ำซ้อน เข้าใจยาก
           -> ื่อ-อุปกรณ์ที่มีอยู่หมดอายุการใช้งาน ควรเปลี่ยนให้เหมาะสมกับการใช้งาน
           -> 1) ด้านสื่อการจัดการเรียนรู้ที่เกี่ยวกับภาษาอังกฤษ ส่วนใหญ่เป็นสื่อหนังสือเรียน และสื่อจากช่องทางอินเทอร์เน็ต ยังไม่มีการพัฒนาสื่อที่เกี่ยวข้องกับภาษาอังกฤษเพื่อใช้ประกอบการจัดการเรียนการสอน 2) วัสดุ อุปกรณ์ ด้านเทคโนโลยีดิจิทัล ไม่สามารถจัดซื้อตามระเบียบพัสดุได้ประสิทธิภาพของวัสดุ อุปกรณ์ที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีดิจิทัล ขึ้นอยู่กับศักยภาพหรือฐานะทางการเงินของครูแต่ละคน สถานศึกษามีบริการเพียงสัญญาณอินเทอร์เน็ตเท่านั้น
           -> สถานการณ์การแพร่ระบาดของ COVID-19 ทำให้ครูมีโอกาสในการพัฒนาตนเองผ่านระบบออนไลน์ได้อย่างหลากหลายและบ่อยครั้งขึ้น สามารถนำความรู้ที่ได้รับมาพัฒนาการจัดการเรียนการสอนได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
           -> ไม่ได้รับการสนับสนุนด้านฮาร์ดแวร์
           -> สื่อและอุปกรณ์ที่นำมาใช้ในการพัฒนามีไม่เพียงพอ
           -> ความเสถียรของเครือข่ายอินเตอร์เน็ตทั้งจากตัวสัญญาณโทรศัพท์มือถือและ WiFi ของผู้เข้ารับการอบรม ทำให้เกิดความไม่ต่อเนื่องของการอบรม
           -> ระบบอินเทอร์เน็ตยังความขัดข้องบ้าง
           -> งบประมาณสนับสนุน
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  
  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  
  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 11.62 (46/396)
      พึงพอใจมาก คิดเป็นร้อยละ 30.81 (122/396)
      พึงพอใจปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 12.63 (50/396)
      พึงพอใจน้อย คิดเป็นร้อยละ 0.76 (3/396)
      พึงพอใจน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.51 (2/396)
1.4 หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (หลักเกณฑ์ PA)
  1) สภาพความก้าวหน้า
     (1) ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ ว.9 (PA) และวิธีการอยู่ในระดับใด
           มากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 4.29 (17/396)
           มาก คิดเป็นร้อยละ 22.22 (88/396)
           ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 16.16 (64/396)
           น้อย คิดเป็นร้อยละ 3.03 (12/396)
           น้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 3.54 (14/396)
     (2) ครูและบุคลากรทางการศึกษาได้รับการชี้แจงหรือหาความรู้เกี่ยวกับหลักเกณฑ์ ว.9 (PA) จากแหล่งใด (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
           เว็ปไซต์ สำนักงาน ก.ค.ศ. คิดเป็นร้อยละ 22.70 (111/489)
           หน่วยงานต้นสังกัดชี้แจง คิดเป็นร้อยละ 26.18 (128/489)
                สพฐ. (สพป./สพม.) คิดเป็นร้อยละ 71.22 (99/139)
                สอศ. คิดเป็นร้อยละ 10.07 (14/139)
                กศน. คิดเป็นร้อยละ 15.83 (22/139)
                สช. คิดเป็นร้อยละ 8.63 (12/139)
           เพื่อนร่วมงาน คิดเป็นร้อยละ 19.43 (95/489)
           สื่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ คิดเป็นร้อยละ 15.54 (76/489)
           เว็ปไซต์ อาทิ ครูบ้านนอกดอทคอม, ครูไทย, ครูวันดีดอทคอม, สถานนีครูดอทคอม คิดเป็นร้อยละ 23.52 (115/489)
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
           -> โรงเรียนจัดอบรมเชิญวิทยากรจากหน่วยงานภายนอกมาให้ความรู้
           -> โรงเรียนจัดอบรมหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินและการจัดทำข้อตกลงใน การพัฒนางาน เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2564
           -> การอบรมพัฒนาครูสู่ความก้าวหน้าเพื่อขอมี ขอเลื่อนวิทยฐาน ตามหลักเกณฑ์ ก.ค.ศ. (ว9/2564. (วPA )ว17/2552 และ ว21/2560) วันที่ 4 ตุลาคม 2564
           -> สำนักงาน กศน.จังหวัดจัดอบรม
           -> ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 4 จังหวัดตรัง จับอบรมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิทฐานะแนวใหม่ ว.PA ให้ข้าราชการครูทุกคน
           -> ศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 4 จังหวัดตรัง จัดอบรมสร้างความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับวิทยฐานะแนวใหม่ ว.PA ให้กับข้าราชการครูทุกคน
           -> โรงเรียนมีการจัดให้ความรู้เกี่ยวกับหลักเกณฑ์ วPA
           -> โรงเรียนจัดอบรมให้ความรู้เกี่ยวกับหลักเกณฑ์ PA
           -> ภาคีเครือข่าย
           -> ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกรายดำเนินการจัดทำตามตัวชี้วัดตามหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตาม ว.9 (PA)
           -> ผู้อำนวยการบรรยายชี้แจง
           -> สถานศึกษาเชิญวิทยากรภายนอกมาให้ความรู้
           -> โรงเรียนจัดอบรม
           -> โรงเรียนจัดอบรม ว.pa
           -> ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์ PA และได้รับการชี้แจงหรือหาความรู้เกี่ยวกับหลักเกณฑ์ PA โดยการเข้าร่วมอบรมพัฒนาผู้บริหารสถานศึกษาและข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา เรื่อง วิธีการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา รูปแบบการจัดทำข้อตกลงในการปฏิบัติงาน (Performance Agreement : PA) จากสำนักบริหารงานการศึกษาพิเศษ
           -> วิทยากรที่มีความรู้ได้ชี้แจงและทำความเข้าใจ
           -> โรงเรียนจัดอบรมให้ครูและบุคลากรทางการศึกษาทุกคน
           -> จากวิทยากรผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้เกี่ยวกับหลักเกณฑ์ ว.9 (PA)
           -> ผู้อำนวยการโรงเรียน
           -> โรงเรียนจัดอบรมให้
           -> สหกรณ์ออมทรัพย์ครูอุทัยธานี
           -> สหกรณ์ออมทรัพย์ครู
           -> การจัดอบรมโดยเครือข่ายสถานศึกษา
           -> บุคลากร ศธจ.
           -> ร่วมอบรมกับสำนักงาน กศน.จังหวัดกลุ่มเบญจบูรพา ณ สำนักงาน กศน.จังหวัดปราจีนบุรี
           -> ศธจ.สห.ดำเนินการจัดประชุมเพื่อให้ความรู้
           -> กลุ่มโรงเรียน และศึกษาด้วยตนเอง
           -> จัดอบรมที่โรงเรียน
     (3) ครูและบุคลากรทางการศึกษา มีข้อคิดเห็นอย่างไรเกี่ยวกับข้อตกลงในการพัฒนางานตามหลักเกณฑ์ ว.9 (PA)..... (ข้อความ)
     
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      ด้านการประเมินผลการปฏิบัติงาน ระบุ
      ด้านการประเมินวิทยฐานะ ระบุ
      ด้านการเปลี่ยนหลักเกณฑ์การประเมินบ่อย ทำให้มีความยุ่งยากในการเตรียมเอกสารหลักฐานรองรับการประเมิน ระบุ
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
      -> ครูขาดความรู้ความเข้าใจเรื่อง PA
      -> ครูบางส่วนยังขาดความชัดเจนในหลักเกณฑ์และวิธีการขอมีและเลื่อนวิทยฐานะตามเกณฑ์ ก ค ศ ว PA
      -> ข้าราชการครู ขาดความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่ง ครู ว.9 (PA)
      -> เนื่องจากข้อตกลงในการพัฒนางานตามหลักเกณฑ์ ว.9 (PA) เป็นเกณฑ์ประเมินผลการปฏิบัติงานและประเมินวิทยฐานะ ซึ่งเป็นหลักเกณฑ์ใหม่ ส่งผลทำให้ไม่เข้าใจในรายละเอียดบางประเด็นของการดำเนินการ
      -> อื่นๆ โรงเรียนไม่ได้ใช้หลักเกณฑ์นี้พิจารณา
      -> โรงเรียนมีระบบ การวัดประเมินผลบุคลากรของโรงเรียนเอง
      -> ครูยังสับสนการเขียนประเด็นท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์ การเรียนรู้ของนักเรียน
      -> 1.ก.ค.ศ.ประกาศใช้หลักเกณฑ์ แต่ส่วนประกอบอื่น ๆ ยังไม่มีความชัดเจน และไม่มีความพร้อมสำหรับให้ครู สถานศึกษาดำเนินการ และการประชาสัมพันธ์/ชี้แจงไม่ทั่วถึง เช่น การบันทึกข้อมูลในระบบ DPA 2. คณะกรรมการคิดเห็น ควรได้รับการเลือกจากครูและบุคลากรทางการศึกษา
      -> โรงเรียนไม่มีงบประมาณเพื่อใช้เป็นงบดำเนินการส่วนค่าตอบแทนกรรมการ ค่าเดินทางกรรมการ
      -> ความพร้อมของ ก.ค.ศ.
      -> ความพร้อมด้าน ICT ด้านเทคโนโลยีไม่พร้อมทุกโรงเรียน
  3) หน่วยงาน/สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับ หลักเกณฑ์และวิธีการประเมินตำแหน่งและวิทยฐานะข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา (หลักเกณฑ์ PA) ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  
  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินการตามหลักเกณฑ์ ว.9 (PA) อยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 5.81 (23/396)
      พึงพอใจมาก คิดเป็นร้อยละ 21.72 (86/396)
      พึงพอใจปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 16.92 (67/396)
      พึงพอใจน้อย คิดเป็นร้อยละ 0.76 (3/396)
      พึงพอใจน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.51 (2/396)
1.5 การขับเคลื่อนศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) และศูนย์บริหารเครือข่ายการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา (Center of Vocational Manpower Networking Management : CVM)
  1) สภาพความก้าวหน้า
     (1) สภาพความก้าวหน้า ความสำเร็จของการดำเนินงานตามนโยบาย (มีเกณฑ์ตัวชี้วัดการประเมิน หรือตัวเลือกประเด็นหรือกิจกรรมที่ปฏิบัติในนโยบายนี้ เพื่อประกอบความก้าวหน้าความสำเร็จ)
          กลุ่มทั่วไป (Standard) สาขาวิชา
          
          กลุ่มเชี่ยวชาญเฉพาะ (Expert) สาขาวิชา
          
          กลุ่มความเป็นเลิศ) (Excellent Center) สาขาวิชา
          
          กลุ่มศูนย์บริหารเครือข่ายการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา (Center of Vocational Manpower Networking Management : CVM) สาขาวิชา
          
     (2) สถานศึกษามีผลการประเมินคุณภาพตามแนวทางการขับเคลื่อนศูนย์ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) และศูนย์บริหารเครือข่ายการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา (Center of Vocational Manpower Networking Management : CVM) อยู่ในระดับใด
           ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 2.27 (9/396)
           ดี คิดเป็นร้อยละ 3.28 (13/396)
           ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 2.02 (8/396)
           พอใช้ คิดเป็นร้อยละ 0.76 (3/396)
     (3) เป้าหมายการพัฒนาคุณภาพสถานศึกษา (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
           สถานศึกษามีนวัตกรรมการบริหารจัดการสอดคล้องกับสภาพบริบท และตอบสนองความต้องการของชุมชน สังคม และยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศ คิดเป็นร้อยละ 25.00 (25/100)
           มีครุภัณฑ์และอุปกรณ์ สื่อ เทคโนโลยีดิจิทัล ทรัพยากร สิ่งสนับสนุนการศึกษา ที่เพียงพอต่อการจัดการเรียนการสอน คิดเป็นร้อยละ 16.00 (16/100)
           สถานศึกษามีภาคีเครือข่ายความร่วมมือกับองค์กรทางวิชาชีพ สถานประกอบการ สถาบันการศึกษาอาชีวศึกษา/อุดมศึกษาทั้งในประเทศหรือต่างประเทศ ในการพัฒนาทักษะทางวิชาการ ทักษะอาชีพ และการฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพของครู และผู้เรียน คิดเป็นร้อยละ 16.00 (16/100)
           หลักสูตรมีความสอดคล้องกับมาตรฐานอาชีพตามกรอบคุณวุฒิแห่งชาติ เชื่อมโยงสมรรถนะอาชีพในการท างานสู่ระบบคุณวุฒิทางการศึกษา หรือมาตรฐานอาชีพตามที่หน่วยงานซึ่งมีหน้าที่ให้การรับรองมาตรฐานกำหนดไว้ ในสาขาวิชาที่มีความเป็นเลิศ คิดเป็นร้อยละ 13.00 (13/100)
           ครูมีสมรรถนะทางวิชาชีพที่ทันสมัย สอดคล้องกับเทคโนโลยีที่สถานประกอบการใช้ในปัจจุบัน ตลอดจนมีทักษะการจัดกระบวนการจัดการเรียนรู้ คิดเป็นร้อยละ 17.00 (17/100)
           ผู้เรียนมีสมรรถนะทางวิชาชีพในสาขาวิชาที่มีความเป็นเลิศ ตรงกับความต้องการของสถานประกอบการ คิดเป็นร้อยละ 9.00 (9/100)
           สถานศึกษาเป็นศูนย์พัฒนาอาชีพและการเป็นผู้ประกอบการ การประเมินสมรรถนะบุคคลตามมาตรฐานอาชีพในสาขาอาชีพที่สอดคล้องกับสาขาวิชา ที่มีความเป็นเลิศ ให้กับผู้เรียน ผู้สำเร็จการศึกษา ผู้ประกอบอาชีพ หรือ ประชาชนทั่วไป เพื่อสร้างโอกาสการเข้าสู่โลกอาชีพและการมีงานทำ คิดเป็นร้อยละ 11.00 (11/100)
           สถานศึกษามีระบบประกันคุณภาพที่เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษา เหมาะสมกับหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน สื่อเทคโนโลยี ทรัพยากรการเรียนรู้ และการประเมินการเรียนการสอน โดยมีการกำกับ ติดตาม และประเมินผลเพื่อพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง คิดเป็นร้อยละ 18.00 (18/100)
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      มาตรฐานอาชีพหรือมาตรฐานฝีมือแรงงานของหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ไม่ครอบคลุมสาขาวิชา คิดเป็นร้อยละ 9.62 (5/52)
      นโยบายขาดความต่อเนื่อง คิดเป็นร้อยละ 19.23 (10/52)
      ครูผู้สอนมีวุฒิการศึกษาวิชาชีพ ไม่ตรงตามสาขาวิชาที่สอน คิดเป็นร้อยละ 21.15 (11/52)
      ขาดห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ครุภัณฑ์/อุปกรณ์ สื่อ ในการจัดการเรียนการสอนที่ทันสมัย คิดเป็นร้อยละ 38.46 (20/52)
      ผู้เรียนมีสมรรถนะไม่ตรงตามหลักสูตรกำหนด กับความต้องการของสถานประกอบการ คิดเป็นร้อยละ 9.62 (5/52)
      สถานศึกษาขาดการเตรียมความพร้อมตามแนวทางการจัดการสถานศึกษา ภายใต้ศูนย์ คิดเป็นร้อยละ 7.69 (4/52)
      ความเป็นเลิศทางการอาชีวศึกษา (Excellent Center) และศูนย์บริหารเครือข่ายการผลิตและพัฒนากำลังคนอาชีวศึกษา (Center of Vocational Manpower Networking Management : CVM) ในการประเมินสมรรถนะผู้เรียนและการรับรองที่เอื้อต่อการพัฒนารายบุคคล คิดเป็นร้อยละ 3.85 (2/52)
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
      -> ครูผู้สอนในสาขาวิชาพืชศาสตร์มีจำนวนน้อยลงเนื่องจากเกษียณอายุราชการไปหลายท่าน
      -> ไม่มีการขับเคลื่อความเป็นเลิศทางอาชีวะศึกษา
      -> งบประมาณไม่ได้รับสนับสนุน ตามจำนวนนักเรียนหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้น
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  
  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  
  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 2.27 (9/396)
      พึงพอใจมาก คิดเป็นร้อยละ 4.80 (19/396)
      พึงพอใจปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 5.30 (21/396)
      พึงพอใจน้อย คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/396)
      พึงพอใจน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.51 (2/396)
1.6 ความปลอดภัยของผู้เรียน โดยการสร้างสถานศึกษาปลอดภัย และบริหารจัดการเชิงบูรณาการในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
  1) สภาพความก้าวหน้า
     1) ครูและบุคลากรทางการศึกษา ได้รับการส่งเสริม สนับสนุน ให้มีความรู้ ความเข้าใจในการสร้างภูมิคุ้มกัน พร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงและภัยคุกคามรูปแบบใหม่ ทุกรูปแบบ
           ครบทุกประเภทภัยคุกคาม คิดเป็นร้อยละ 38.89 (154/396)
           บางประเภทภัยคุกคาม คิดเป็นร้อยละ 23.48 (93/396)
                ภัยยาเสพติด คิดเป็นร้อยละ 18.98 (101/532)
                ภัยความรุนแรง คิดเป็นร้อยละ 11.65 (62/532)
                ภัยพิบัติต่างๆ คิดเป็นร้อยละ 11.65 (62/532)
                อุบัติเหตุ คิดเป็นร้อยละ 16.73 (89/532)
                โรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำ (เช่น CVID-19 เป็นต้น) คิดเป็นร้อยละ 21.05 (112/532)
                ฝุ่น PM 2.5 คิดเป็นร้อยละ 7.89 (42/532)
                การค้ามนุษย์ คิดเป็นร้อยละ 4.51 (24/532)
                การคุกคามในชีวิตและทรัพย์สิน คิดเป็นร้อยละ 7.14 (38/532)
                อาชญากรรมไซเบอร์ คิดเป็นร้อยละ 7.52 (40/532)
           ไม่มี คิดเป็นร้อยละ 0.76 (3/396)
     2) การบริหารจัดการเชิงบูรณาการในสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สถานศึกษาได้ดำเนินงานหรือได้รับความช่วยเหลือจากหน่วยงานใดบ้าง (เลือกได้มากกว่า 1 ข้อ)
           กระทรวงศึกษาธิการ คิดเป็นร้อยละ 31.87 (225/706)
           กระทรวงสาธารณสุข คิดเป็นร้อยละ 35.55 (251/706)
           กรมการปกครอง คิดเป็นร้อยละ 21.67 (153/706)
           ภาคเอกชน คิดเป็นร้อยละ 16.15 (114/706)
           อื่นๆ (ระบุ)
           -> มูลนิธิกุศลศรัทธาเกาะเต่า
           -> การจัดอบรมให้ความรู้ การสอดแทรกในการเรียน การสอน การจัดนิทรรศการให้ความรู้ การเผยแพร่ในกลุ่มไลน์ เว็บไซด์ เฟสบุ๊คของห้องสมุดประชาชน
           -> โรงพยาบาลเครือข่าย เช่นโรงพยาบาลเปาโล ศิครินทร์ สินแพทย์ สมาคมผู้ปกครองและครูตลอดจนสมาคมศิษย์เก่า
           -> ไม่ได้รับการช่วยเหลือ
           -> กองอำนวยการรักษาความมั่นคงภายใน (กอ.รมน.) จังหวัดลำปาง
           -> อบจ.หนองคาย
           -> บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น จำกัด (มหาชน)
           -> เทศบาลประจำตำบล
           -> มหาวิทยาลัย
           -> สำนักงานเทศบาลเมืองคลองแห
           -> รพ.สต.
           -> ครูแดร์ (ตำรวจ)
     3) สถานศึกษามีการบริหารจัดการเชิงบูรณาการในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) อย่างไรบ้าง
           มี
           ไม่มี คิดเป็นร้อยละ 1.26 (5/396)
     4) สถานศึกษามีแผนการดำเนินงาน/แผนเผชิญเหตุ/แนวทาง/คู่มือเพื่อความปลอดภัยของผู้เรียนในสถานศึกษา
           มี
           ไม่มี คิดเป็นร้อยละ 1.26 (5/396)
     5) ผู้เรียนได้เข้าร่วมกิจกรรมที่สถานศึกษาจัดเพื่อส่งเสริม สนับสนุนในการสร้างภูมิคุ้มกันทางสังคม พร้อมรับมือการเปลี่ยนแปลงและภัยคุกคามรูปแบบใหม่ทุกรูปแบบ
           ครบทุกประเภทภัยคุกคาม คิดเป็นร้อยละ 28.79 (114/396)
           บางประเภทภัยคุกคาม คิดเป็นร้อยละ 29.29 (116/396)
                ภัยยาเสพติด คิดเป็นร้อยละ 21.19 (125/590)
                ภัยความรุนแรง คิดเป็นร้อยละ 10.85 (64/590)
                ภัยพิบัติต่างๆ คิดเป็นร้อยละ 9.66 (57/590)
                อุบัติเหตุ คิดเป็นร้อยละ 19.49 (115/590)
                โรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้ำ (เช่น CVID-19 เป็นต้น) คิดเป็นร้อยละ 22.71 (134/590)
                ฝุ่น PM 2.5 คิดเป็นร้อยละ 6.78 (40/590)
                การค้ามนุษย์ คิดเป็นร้อยละ 2.71 (16/590)
                การคุกคามในชีวิตและทรัพย์สิน คิดเป็นร้อยละ 6.10 (36/590)
                อาชญากรรมไซเบอร์ คิดเป็นร้อยละ 6.95 (41/590)
           ไม่มี คิดเป็นร้อยละ 0.51 (2/396)
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      ผู้บริหารขาดความตระหนักในการสร้างความรู้ความเข้าใจกับการรับมือกับภัยคุกคามรูปแบบใหม่ให้กับผู้เรียน คิดเป็นร้อยละ 21.15 (11/52)
      ครูขาดขวัญกำลังใจ การคุ้มครองดูแลช่วยเหลือในการปฏิบัติงานภายในสถานศึกษา คิดเป็นร้อยละ 80.77 (42/52)
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
      -> จัดทำสื่อประชาสัมพันธ์แผนเผชิญเหตุฯ สู่การปฏิบัติ เพื่อสร้างความเข้าใจใน บทบาทหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้อง
      -> ขาดการแก้ไขปัญหาและระมัดระวังในการเกิดภัยคุกคามเบื้องต้นของผู้เรียน
      -> สถานการณ์โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
      -> โรงเรียนราชประชานุเคราะห์ ๓๖ จังหวัดภูเก็ต จัดการศึกษาให้กับนักเรียนทั้งในลักษณะ ไป - กลับ และอยู่ประจำ และจัดการศึกษาตั้งแต่ระดับก่อนประถมศึกษา (อนุบาล) ประถมศึกษา (ป.1-6) และมัธยมศึกษา (ม.1-6) ทำให้มีอุปสรรคในการดูแลนักเรียนค่อยข้างมาก
      -> สถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) จัดกิจกรรมกลุ่มใหญ่ไม่ได้
      -> ในบางอุบัติเหตุ ครูและบุคลากรไม่ได้ผ่านการอบรมจากวิทยากรที่มีความรู้ความสามารถในเรื่องนั้นๆ
      -> สถานศึกษา มีการจัดอบรมให้ความรู้ตามเงื่อนไขในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 และเผยแพร่ให้ความรู้ทางช่องทางอื่น เช่น กลุ่มไลน์ เฟสบุ๊ค เว็บไซด์
      -> การเกิดภัยจากธรรมชาติ เช่น น้ำทะเลหนุนสูง ที่ท่วมถึงบริเวณโรงเรียน ภัยจากยาเสพติดที่สังคมโดยรอบโรงเรียนและครอบครัวที่นักเรียนบางคนมีความใกล้ชิดกับยาเสพติด
      -> นักเรียนมีความรู้ในเรื่องภัยคุกคามต่างๆ แต่ยังขาดความตระหนัก
      -> ขาดการสร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่าง โรงเรียน ผู้แกครอง ชุมชนอย่างต่อเนื่อง
      -> ครูไม่พอ
      -> ขาดงบประมาณสนับสนุน
      -> 1. ด้านนักศึกษาขาดความเข้าใจและไม่ตระหนักต่อการใช้มาตรการป้องกันโรคโควิด2019 2. นักเรียนไม่ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันอย่างเคร่งครัด 3. ผู้ปกครองขาดความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับโรคโควิด 2019
      -> ปัญหานักเรียนการสูบบุหรี่ ที่เกิดจากการอยากรู้อยากลอง และการชักชวนจากเพื่อน
      -> 1)ครูผู้สอนต้องมีการเฝ้าระวังตนเองอย่างสูงสุด กรณี สอนรูปแบบ Onsite และ On hand (นักเรียนมารับใบงาน/ใบความรู้/อื่นใดที่โรงเรียน) ซึ่งครูผู้สอนที่ต้องมีปฏิสัมพันธ์กันนักเรียน และผู้ปกครองโดยตรง 2)การพัฒนาตนเองของครูผู้สอนที่ต้องสอนแบบ New Normal ที่ต้องมีการอบรมผ่านออนไลน์ อาจจะไม่ได้ผลดีเท่าที่ควร และนำมาปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรมอาจยังไม่ส่งผลต่อตัวนักเรียนโดยตรง
      -> ไม่มีปัญหา
      -> 2.1 นักเรียนของศูนย์ ฯ ไม่สามารถสวมหน้ากากอนามัย เสี่ยงต่อการติดเชื้อไวรัสโคโรน่า – 2019 2.2 ขาดการสนับสนุนจากงบประมาณหน่วยงานภายนอก ในการขอรับการสนับสนุนชุดตรวจ Antigen test kits และวัสดุอุปกรณ์ในการป้องกันการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่า – 2019 ที่เพียงพอ
      -> รัฐบาลหรือกระทรวงควรจัดสรรงบประมาณสนับสนุนและ อุปกรณ์ต่างๆให้เท่าเทียมกับโรงเรียนในสังกัดของรัฐ
      -> บุคลากรมีไม่เพียงพอ
      -> ระยะเวลาในการฝึกอบรมตามประเด็นต่างๆ
      -> โรงเรียนไม่สามารถเปิดเรียนได้ตามปกติ
      -> ข้อจำกัดในการดำเนินการทำกิจกรรมที่สถานที่ศึกษา
      -> ในกรณีการเกิดโรคระบาด เด็กที่ติดเชื้อหรือมีคนในครอบครัวติดเชื้อเด็กที่เจ็บป่วยด้วยอาการคล้ายกับการ เป็นโรคโควิด-19 หรือ เด็กที่ผู้ปกครองมีอาชีพที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ วิทยาลัยฯจะให้ความรู้ เกี่ยวกับโรคโควิด-19 ว่าสามารถติดต่อกันได้ทางใดบ้างและพฤติกรรม ใดไม่เสี่ยงต่อการติดต่อจะสามารถช่วยลดความ
      -> ไม่สามารถดำเนินการตามแผนปฎิบัติการได้เนื่องจากสถานการการแพร่ระบาดของโรคโควิด-19
      -> ขาดงบประมาณในการซื้อ ATK
      -> นักเรียนศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดอุทัยธานี เป็นนักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ในการเข้าร่วมโครงการ/กิจกรรม ในแต่ละครั้ง จึงมีความยากลำบากในการเคลื่อนย้าย เช่น กิจกรรมอพยพหนีไฟที่ต้องมีการปฏิบัติในสถานการณ์จำลอง การเคลื่อนย้ายพลไปยังจุดรวมพล เป็นต้น
      -> สิ่งที่ต้องทำมีมากเกินไป
      -> สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลกระทบต่อการรวมกลุ่มจัดกิจกรรมสร้างความรู้ความเข้าใจกับการรับมือกับภัยคุกคามรูปแบบใหม่ให้กับผู้เรียน
      -> ขาดงบประมาณและเจ้าหน้าที่ผู้เชี่ยวชาญ
      -> การเข้าถึงข้อมูลของนักเรียนที่มีความบกพร่องทางการเห็น
      -> ครู กศน.ลงพื้นที่ในการจัดกิจกรรมร่วมกับชุมชน ซึ่งมีความเสี่ยงอาจจะ ได้รับเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) หากพื้นที่ไหนมีความเสี่ยงมาก ก็ให้ครูได้ตรวจโควิดด้วยชุดตรวจ ATK เพื่อป้องกัน และปฏิบัติตามคำแนะนำสาธารณสุขอย่างเคร่งครัด
      -> ครูมีภาระงานมาก
      -> ขาดความต่อเนื่องในกิจกรรม
      -> มีการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมให้นักเรียน และครู-บุคลากร รับรู้ถึงภัยคุกคามประเภทต่างๆอยู่ตลอด
      -> เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค โควิด- ๑๙ ในยุคปัจจุบัน การ จัดกิจกรรมต่าง ๆ จึงต้องสอดแทรกลงในกิจกรรมการเรียนการสอนออนไลน์ จึงมีขีดจากัดในการจัดกิจกรรมอื่น ๆ ทาให้ไม่สามารถจัดกิจกรรมได้ทุกกิจกรรม
      -> เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา COVID 2019 ส่งผลทำให้ไม่สามารถจัดกิจกรรมโครงการ หรือจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้ตามปกติได้
      -> ครูไม่มีความรู้เกี่ยวกับภัยคุกคาม แนวทางแก้ไข และการป้องกัน ครบทั้ง 9 ประเภท
      -> ครูยังขาดความรู้เกี่ยวความเข้าใจกับภัยคุกคามในรูปแบบต่างๆอย่างลึกซึ้ง ยังขาดหน่วยงานที่รับผิดชอบโดยตรงมาให้ความรู้ในสถานศึกษา
      -> ขาดงบประมาณในการดำเนินงาน
      -> ข้อจากัดในการจัดกิจกรรมแบบรวมกลุ่มเนื่องจากปัญหาการแพร่ระบาดของ โรคโควิด-19
      -> สถานการณ์ Covid-19
      -> โรงเรียนจัดกิจกรรมต่างๆ ที่ส่งเสริมสนับสนุนการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับนักเรียนผ่านระบบออนไลน์ หรือให้นักเรียนได้มีโอกาสเข้าร่วมการจัดทำกิจกรรมของหน่วยงานต่างๆผ่านระบบออนไลน์ ซึ่งการดำเนินการแต่ละครั้งยังขาดการมีส่วนร่วมของนักเรียนในการแสดงความคิดเห็น ซึ่งทำให้ขาดประสิทธิภาพในการร่วมกิจกรรม (
      -> ขาดหน่วยงานทางภาครัฐเข้ามาสนับสนุนงบประมาณ
      -> นักเรียนไม่ค่อยกระตือรือร้นเกี่ยวการระบาดของโรคไวรัสโคโรน่า 2019 และไม่ค่อยเอาใจใส่เกี่ยวการป้องกันเบื้องต้น
      -> ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา (COVID-๑๙) ทำให้การจัดการเรียน การสอนไม่เป็นไปตามแผนที่วางไว้ เนื้อหาที่สอนช้ากว่าปกติ ส่งผลให้ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนไม่ดีนัก จึงทำให้ประเด็นท้าทายอาจไม่บรรลุเป้าหมาย อีกทั้งครูมีภาระงานหลายอย่างนอกเหนือจากการสอน ทำให้เวลา ในการจัดทำผลงานเพื่อประเมินวิทยฐานะน้อยลง
      -> งบประมาณมีน้อยมาก ถึงมากที่สุด
      -> ขาดงบประมาณ
      -> 1) เนื่องจากมีการเรียนการสอนแบบ Online ครูไม่สามารถติดตาม เฝ้าระวัง ความปลอดภัยของนักเรียนได้อย่างใกล้ชิดและตลอดเวลา 2) ครูบางคนยังไม่ตระหนักในการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) การประสานงานยังไม่ครอบคลุมเท่าที่ควร ขาดสื่อความรู้ที่ทันสมัยและดึงดูดความสนใจของผู้เรียน
      -> โรงเรียนบ่อกรุวิทยา ได้มีการการบริหารจัดการเชิงบูรณาการในสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) พบปัญหาและอุปสรรค ดังนี้ (1) นักเรียนบางคนยังขาดความเข้าใจและไม่ตระหนักต่อการใช้มาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (2) นักเรียนบางคนไม่ปฏิบัติตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (มาตรการ 6 6 7) อย่างเคร่งครัด (3) ผู้ปกครองขาดความรู้และความเข้าใจที่ถูกต้องเกี่ยวกับการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) (5) ขาดงบประมาณในการนำไปซื้อชุดตรวจ ATK
      -> -
      -> การจัดกิจกรรมทำได้ไม่ครอบคลุมเนื่องจากสถานการณ์ Covid-19 ในพื้นที่
      -> ครูผู้สอนขาดทักษะทางเทคโนโลยี
      -> ไม่มีปัญหา
      -> ขาดแคลนงบประมาณในการดำเนินการ
      -> สถานการณ์โควิด
      -> 1) สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ส่งผลให้การจัด กิจกรรมการขับเคลื่อนโครงการไม่เต็มศักยภาพ 2) การขาดแคลนงบประมาณสนับสนุน ส่งผลให้การพัฒนากิจกรรมมีประสิทธิภาพน้อยลง
      -> ขาดวัสดุอุปกรณ์ /การติดตามเครือข่ายเฝ้าระวัง
      -> การปฏิบัติตนของผู้เรียน
      -> ขอสนับสนุนงบประมาณในการจัดหาชุดตรวจ ATK เพื่อคัดกรองนักเรียน ครู และบุคลากร ในโรงเรียน
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  
  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับความปลอดภัยของผู้เรียน โดยการสร้างสถานศึกษาปลอดภัยของสถานศึกษาท่าน ที่คิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  
  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 21.21 (84/396)
      พึงพอใจมาก คิดเป็นร้อยละ 36.36 (144/396)
      พึงพอใจปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 9.60 (38/396)
      พึงพอใจน้อย คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/396)
      พึงพอใจน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/396)
2. ด้านการสร้างโอกาส ความเสมอภาคและความเท่าเทียมกันทางสังคม
2.1 การค้นหาเด็กวัยเรียนหลุดจากระบบการศึกษา และติดตามให้ความช่วยเหลือเข้าสู่ระบบการศึกษา
  1) สภาพความก้าวหน้า
      สถานศึกษามีการค้นพบเด็กวัยเรียนที่หลุดจากระบบการศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน..............คน (ตัวเลข)
      การติดตามให้ความช่วยเหลือเข้าสู่ระบบการศึกษา สำหรับเด็กที่อยู่ในการศึกษาภาคบังคับ จำนวน ................คน (ตัวเลข)
          กศน. จำนวน................คน (ตัวเลข)
          อาชีวศึกษา จำนวน ...........คน (ตัวเลข)
      การติดตามให้ความช่วยเหลือผู้เรียนเข้าสู่ระบบการศึกษา สำหรับเด็กที่อายุเกิน 15 ปี จำนวน.............คน (ตัวเลข)
          กศน. จำนวน................คน (ตัวเลข)
          อาชีวศึกษา จำนวน ...........คน (ตัวเลข)
          เข้าทำงานสถานประกอบการ จำนวน...............คน (ตัวเลข)
          ประกอบอาชีพอื่น ๆ จำนวน ................คน (ตัวเลข)
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
      -> 1. นักเรียนขอลาออก เพื่อศึกษาต่อโรงเรียนเตรียมทหาร จํานวน 6 คน 2. นักเรียนขอพักการเรียน ป่วย จํานวน 1 คน 3. นักเรียนพักการเรียน เพื่อไปศึกษาแลกเปลี่ยน ณ ต่างประเทศ จํานวน 6 คน 4. นักเรียนขอย้ายสถานศึกษา เพื่อศึกษาต่อสถานศึกษาอื่น จํานวน 5 คน 5. นักเรียนลาออก เพื่อศึกษาต่อต่างประเทศ จํานวน 3 คน รวม 21 คน ข้อมูล ณ วันที่ 1 พ.ย.2564
      -> ด้านสุขภาพ
      -> ไม่มีเด็กหลุจากระบบการศึกษาในเขตบริการของโรงเรียน
      -> มีระบบการตรวจสอบเด็กตกกล่น
      -> ศึกษาต่อสถาบันต่างประเทศ ศึกษาต่อสถาบันอื่น เช่วน เตรียมทหาร หรือ รร.บริรักษ์ จำนวน 5 คน
      -> เด็กที่อยู่การศึกษาภาคบังคับ จำนวน 3 คนนั้น ติดตามพบว่าเข้าสู่ระบบการศึกษาภาคบังคับได้ตามปกติ
      -> 0
      -> 0
      -> 0
      -> 4
      -> นักเรียนได้รับการศึกษาต่อในภาคเอกชน
      -> ไม่ได้ดำเนินการ
      -> ย้ายที่อยู่ 13 คน
      -> ไม่พบตัว 6 คน เสียชีวิต 1 คน
      -> 1. เด็กหญิงกชพร ชุมชาติ ป.3 ได้เข้าเรียนแล้วที่โรงเรียน อนุบาลกิตติเวศม์ อำเภอ ควน เนียง จังหวัด สงขลา ระดับชั้น ป.3 .สังกัด สช. 2. เด็กชายชวกร พรหมชาติ ป.3 ได้เข้าเรียนแล้วทีโรงเรียนสหศาสตร์วิทยาคาร อำเภอ. หาดใหญ่จังหวัด สงขลา ระดับชั้น ป.3 สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชน(สช.) 3. เด็กหญิงธัญญามาศ หละเทียม ป.3 ได้เข้าเรียนแล้วที่โรงเรียนอนุบาลกิตติเวศม์ อำเภอ ควนเนียง จังหวัด สงขลา ระดับชั้น ป.3 สังกัดสำนักงานการศึกษาเอกชน (สช.) 4. เด็กชายธนภัทร ชูวิจิตต์ ป.5 ได้เข้าเรียนแล้วที่โรงเรียน อนุบาลวลัยพร อำเภอ ควนเนียง จังหวัด สงขลา ระดับชั้น ป.5 .สังกัด สช.
      -> 0
      -> - เข้าเรียนสถานศึกษาสังกัดอื่น ๆ จำนวน 54 คน - ไม่ได้ศึกษาต่อ จำนวน 6 คน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาสุราษฎร์ธานี ชุมพร ดำเนินการประสานส่งต่อรายชื่อไปยัง กศน.จังหวัดสุราษฎร์ธานี และ กศน.จังหวัดชุมพร - เสียชีวิต จำนวน 2 คน
      -> 0
      -> โรงเรียนไม่มีเด็กวัยเรียนหลุดจากระบบการศึกษา
      -> หลักสูตรอาชีพระยะสั้น จำนวน 11 คน
      -> 1 ไม่ประสงค์จะกลับมาเรียน
      -> 0
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      ด้านเศรษฐกิจ รายได้ของครอบครัว คิดเป็นร้อยละ 26.75 (103/385)
      การย้ายถิ่นฐานตามผู้ปกครอง คิดเป็นร้อยละ 26.23 (101/385)
      ความไม่พร้อมของผู้เรียน ด้านสติปัญญา ร่างกาย ฯลฯ คิดเป็นร้อยละ 13.25 (51/385)
      ปัญหาของครอบครัว (หย่าร้าง /แยกกันอยู่) คิดเป็นร้อยละ 21.56 (83/385)
      การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID – 19) คิดเป็นร้อยละ 18.44 (71/385)
      อื่นๆ (ถ้ามี)
      -> ปัญหามารดาเสียชีวิตจากโรคติดเชื้อโควิด-19
      -> ข้อมูลที่ให้สถานศึกษาเด็กพิการตกหล่นมีความซ้ำซ้อนกับข้อมูลของสถานศึกษา และจากการสำรวจพบว่าเด็กอยู่ในระบบการศึกษาแล้ว
      -> 1.หมดสภาพ 2.รักษาสภาพ 3.ย้ายที่อยู่อาศัย 4.ลาออก 5.ไม่พบตัวตน
      -> ต้องการเรียนดนตรีสากล (เด็กชายธนภัทร ชูวิจิตต์)
      -> ผู้ปกครองไม่ให้ความสำคัญต่อการศึกษาของบุตรหลานตนเอง
      -> การเชื่อมโยงของฐานข้อมูลไม่เชื่อมโยงกัน
      -> แต่งงาน
      -> แต่งงานมีครอบครัว และสำเร็จการศึกษาภาคบังคับทั้ง 4 คน
      -> นักเรียนและผู้ปกครองไม่รับโทรศัพท์ ย้ายที่อยู่
      -> เปลี่ยนแปลงข้อมูลไม่แจ้งให้สถานศึกษาทราบ
      -> งบประมาณในการติดตามไม่เพียงพอ
      -> Application พาน้องกลับมาเรียนยังไม่เสถียร ใช้งานยาก
      -> นักเรียนไม่อยู่บ้าน ไปทำงานต่างจังหวัดเพื่อรายได้มาช่วยเหลือครอบครัว
      -> ข้อมูลสารสนเทศที่ได้รับจากส่วนกลางต้นสังกัด ยังไม่เป็นปัจจุบัน
      -> ปัญหาสังคม
      -> ย้ายไปทำงานต่างจังหวัดและไม่สามารถติดต่อได้
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  
  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  
  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 11.62 (46/396)
      พึงพอใจมาก คิดเป็นร้อยละ 24.49 (97/396)
      พึงพอใจปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 10.10 (40/396)
      พึงพอใจน้อย คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/396)
      พึงพอใจน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/396)
2.2 การดูแลเด็กปฐมวัย ด้วยการส่งเสริมสนับสนุนให้เด็กปฐมวัยทุกคนได้พัฒนาการสมวัย ได้รับโอกาสทางการศึกษาทั้งในและนอกระบบการศึกษา
  1) สภาพความก้าวหน้า
     (1) ผู้เรียนในระดับปฐมวัย (อนุบาล 3) ปีการศึกษา 2564 ทั้งหมด
          จำนวน.............คน (ตัวเลข) จำแนกเป็น
          ผู้เรียนปกติ จำนวน..........คน (ตัวเลข)
          ผู้เรียนที่มีความบกพร่อง จำนวน.............คน (ตัวเลข)
     (2) ผู้เรียนปกติ มีผลการประเมินพัฒนาการด้านร่างกาย อารมณ์จิตใจ สังคม และสติปัญญา ผ่านเกณฑ์การประเมินพัฒนาการคุณภาพระดับ 3 ทั้ง 4 ด้าน
          จำนวน..............คน (ตัวเลข)
          คิดเป็นร้อยละ........... (เทียบจากผู้เรียนปกติ) (ตัวเลข)
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      ขาดแคลนครูวิชาเอกปฐมวัย คิดเป็นร้อยละ 45.78 (38/83)
      ครูผู้สอนระดับปฐมวัยสอนไม่ตรงวิชาเอก คิดเป็นร้อยละ 42.17 (35/83)
      ครูไม่ครบชั้น (ครู 1 คน สอน 2 ระดับชั้น) คิดเป็นร้อยละ 25.30 (21/83)
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
      -> - อุปกรณ์ในการเรียนไม่เพียงพอ
      -> รร.มีครูปฐมวัยตรงวิชาเอก 1 คน อีก 1 คนไม่ตรงวิชาเอก
      -> นักเรียนบางคนไม่ได้อยู่กับพ่อแม่ เพราะพ่อแม่หย่าร้างกัน หรืออาจจะไปมีครอบครัวใหม่
      -> ครูสอบติด ย้ายที่ทำงานกลางคัน
      -> ติดต่อไม่ได้ 1 คน
      -> หน่วยบริการอำเภอไม่ทั่วถึงสำหรับนักเรียนพิการที่มีสามารถมารับบริการที่ศูนย์ได้
      -> พัฒนาการของเด็กแต่ละคนไม่เท่ากัน
      -> 1) เด็กอยู่กับญาติ ครอบครัวแตกแยก พ่อแม่แยกทางกัน 2) ระยะทางห่างไกลโรงเรียน
      -> ครูปฐมวัยขาดทักษะการจัดประสบการณ์แบบใหม่ๆ
      -> อาคารสถานที่ไม่เอื้อต่อการจัดประสบการณ์ในระดับปฐมวัย
      -> 1) การอ่านของนักเรียนยังไม่ชัดเจน 2) นักเรียนยังมีการเขียนที่ยังไม่คล่อง
      -> การจัดการเรียนการสอนในช่วงสถานการณ์โควิดส่งผลให้ระดับคุณภาพไม่ 100 %
      -> ขาดสื่ออุปกรณ์การเรียนที่ทันสมัย
      -> เด็กปฐมวัยน้อยลง เข้าเรียนฟรีในโรงเรียนภาครัฐมากกว่า
      -> ไม่มีครูพี่เลี้ยงประจำห้อง
      -> เนื่องจากสถานการณ์แพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต้องจัดการเรียนการสอนผ่าน Online เป็นส่วนใหญ่ ทำให้การสื่อสารบางครั้งไม่ชัดเจน /เด็กส่วนใหญ่ไม่สามารถใช้เทคโนโลยีด้วยตนเองได้
      -> -
      -> สถานการณ์โควิดทำให้จัดการเรียนการสอนได้ไม่เต็มที่
      -> สภาพห้องเรียนและสิ่งอำนวยความสะดวก
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  
  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการค้นหาเด็กวัยเรียนหลุดจากระบบการศึกษา และติดตามให้ความช่วยเหลือเข้าสู่ระบบการศึกษาของสถานศึกษาท่าน ที่คิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  
  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 7.58 (30/396)
      พึงพอใจมาก คิดเป็นร้อยละ 17.68 (70/396)
      พึงพอใจปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 6.82 (27/396)
      พึงพอใจน้อย คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/396)
      พึงพอใจน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.51 (2/396)
2.3 การสร้างโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพสำหรับคนพิการ และผู้ด้อยโอกาสและผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทั้งในและนอกระบบการศึกษา
  1) สภาพความก้าวหน้า
      ผู้เรียนที่เป็นผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาสและผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทั้งในและนอกระบบการศึกษา เข้าถึงบริการการศึกษา คิดเป็นร้อยละ 36.21 (88/243)
      ผู้เรียนที่เป็นผู้พิการ ผู้ด้อยโอกาสและผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทั้งในและนอกระบบการศึกษา ได้รับการพัฒนาสมรรถภาพหรือบริการทางการศึกษาที่เหมาะสมตามความจำเป็น โปรดระบุรายละเอียด      
      สถานศึกษามีการจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล (Individualized Education Program : IEP) สำหรับเด็กพิการเรียนรวม (9 ประเภท) และผ่านเกณฑ์การประเมินระบบการจัดการศึกษา คิดเป็นร้อยละ 30.45 (74/243)
      สถานศึกษามีระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนและบริหารจัดการสถานศึกษาที่มีประสิทธิภาพ สามารถลดจำนวนเด็กด้อยโอกาส โดยให้เด็กทุกคนสามารถเข้าถึงและส่งเสริมเด็กด้อยโอกาสให้ได้รับการศึกษาเต็มตามศักยภาพ คิดเป็นร้อยละ 42.80 (104/243)
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      สถานศึกษา/ผู้รับผิดชอบงานการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการและผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ขาดความเชี่ยวชาญ ความชำนาญเฉพาะด้าน คิดเป็นร้อยละ 28.57 (56/196)
      ผู้ปกครองบางส่วนขาดความรู้ ความเข้าใจและมีเจตคติที่ไม่ดีต่อความบกพร่องของเด็กและการส่งเด็กเข้ารับการพัฒนาในสถานศึกษา คิดเป็นร้อยละ 39.80 (78/196)
      การพัฒนาและส่งเสริมผู้เรียน เป็นไปได้ยาก เนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื่อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) คิดเป็นร้อยละ 41.33 (81/196)
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
      -> ปัญหาหลักในการดำเนินโครงการพัฒนาเด็กและเยาวชนผู้ด้อยโอกาสบ้านลาซาล คือ ผู้เรียนอยู่ในพื้นที่ห่างไกล อยู่ในจังหวัดตะเข็บชายแดนหรือชนเผ่าที่เป็นชนกลุ่มน้อย ทำให้เกิดความยากลำบากในการเดินทางออกมาจากพื้นที่ และมีความขัดสนในเรื่องของค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ส่งผลให้ในบางครั้งผู้ปกครองไม่อยากส่งลูกมาเรียน
      -> ในการจัดการเรียนการสอน นักเรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษจะมีสมาธิในการเรียนที่น้อยกว่านักเรียนปกติ
      -> โรงเรียนบ้านเกาะเต่าขาดครูผู้รับผิดชอบงานการจัดการศึกษาสำหรับคนพิการและผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษ ขาดความเชี่ยวชาญ ความชำนาญเฉพาะด้าน
      -> การขาดงบประมาณสนับสนุน ทำให้การพัฒนาศักยภาพการศึกษาให้กับผู้เรียนที่มีความต้องการพิเศษขาดความต่อเนื่องและคล่องตัว
      -> บุคลากรไม่เพียงพอ ต่อสัดส่วนจำนวนนักเรียนที่มีความพิการ
      -> สถานศึกษาไม่มีผู้เรียนที่พิการ
      -> 1. ด้วยสถานการณ์แพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรน่าทำให้การสำรวจจำนวนนักเรียนที่มีความพิการอาจจะได้จำนวนที่ไม่แน่นอน 2. จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการ การพัฒนาการจัดการเรียนรู้สำหรับเด็กบกพร่องทางการเรียนรู้ ในครั้งที่ 1 เป็นการอบรมแบบ Online ทำให้ไม่สามามารถประเมินความรู้ที่แท้จริงได้
      -> ขาดบุคลากรด้านการศึกษาพิเศษ
      -> ไม่พบตัวตนผู้พิการ
      -> มีเด็กที่เป็นออทิสติกเทียม จากพ่อแม่ที่ให้ลูกอยู่กับมือถือตลอดเวลา
      -> ไม่มี
      -> นักเรียนเป็้นวัยรุ่นมีความอายในการเรียนซ่อมเสริมและรับบริการต่างๆ
      -> ขาดงบประมาณในการดำเนินการ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  
  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการสร้างโอกาสและการเข้าถึงการศึกษาที่มีคุณภาพสำหรับคนพิการและผู้ด้อยโอกาสและผู้เรียนที่มีความต้องการจำเป็นพิเศษทั้งในและนอกระบบการศึกษาของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  
  5) ท่านมีความพึงพอใจอยู่ในระดับใดของการดำเนินงานเพื่อพัฒนาคุณภาพผู้เรียนปฐมวัย
      พึงพอใจมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 8.33 (33/396)
      พึงพอใจมาก คิดเป็นร้อยละ 22.47 (89/396)
      พึงพอใจปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 8.84 (35/396)
      พึงพอใจน้อย คิดเป็นร้อยละ 0.51 (2/396)
      พึงพอใจน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.25 (1/396)
3. ด้านความร่วมมือ
3.1 การจัดการศึกษาแบบทวิภาคีสู่คุณภาพมาตรฐาน ผ่านศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่
  1) สภาพความก้าวหน้า
     ตามแนวทางปฏิบัติจัดการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
          ความร่วมมือกับสถานประกอบการ
                ไม่มีความร่วมมือ คิดเป็นร้อยละ 5.56 (22/396)
                มีความร่วมมือ คิดเป็นร้อยละ 12.12 (48/396)
                     ในพื้นที่บริการ คิดเป็นร้อยละ 9.85 (39/396)
                     นอกพื้นที่บริการ/นอกจังหวัด คิดเป็นร้อยละ 3.03 (12/396)
                     ต่างประเทศ คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/396)
          ความร่วมมือกับสถานประกอบการในการจัดการศึกษาระบบทวิภาคี
                ไม่มีความร่วมมือ คิดเป็นร้อยละ 6.06 (24/396)
                มีความร่วมมือกับสถานประกอบการอย่างเข้มข้น คิดเป็นร้อยละ 11.11 (44/396)
                     การพัฒนาหลักสูตร คิดเป็นร้อยละ 27.27 (21/77)
                     การพัฒนาครู คิดเป็นร้อยละ 22.08 (17/77)
                     การพัฒนานักเรียนนักศึกษา คิดเป็นร้อยละ 42.86 (33/77)
                     การสนับสนุนทรัพยากรเพื่อการศึกษา คิดเป็นร้อยละ 14.29 (11/77)
     (1) ด้านคุณภาพหลักสูตร
          (1.1) ด้านการพัฒนาหลักสูตรรายวิชา ระดับคุณภาพในการพัฒนาหลักสูตรฐานสมรรถนะรายวิชาที่สอดคล้องกับความต้องการของสถานประกอบการ อยู่ในระดับใด
                ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 3.54 (14/396)
                ดี คิดเป็นร้อยละ 7.32 (29/396)
                ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 1.52 (6/396)
                ปรับปรุง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/396)
          (1.2) ด้านการบริหารจัดการหลักสูตร ระดับคุณภาพในการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง อยู่ในระดับใด
                ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 2.53 (10/396)
                ดี คิดเป็นร้อยละ 8.84 (35/396)
                ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 1.01 (4/396)
                ปรับปรุง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/396)
          (1.3) ด้านทรัพยากรการจัดอาชีวศึกษา ระดับคุณภาพในการบริหารจัดการวัสดุ อุปกรณ์ ครุภัณฑ์ และพื้นที่ อยู่ในระดับใด
                ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 2.53 (10/396)
                ดี คิดเป็นร้อยละ 6.06 (24/396)
                ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 2.78 (11/396)
                ปรับปรุง คิดเป็นร้อยละ 0.25 (1/396)
          (1.4) ด้านคุณภาพผู้สำเร็จการศึกษา ผ่านเกณฑ์การทดสอบมาตรฐานวิชาชีพของสถานศึกษาและหน่วยงานภายนอก อยู่ในระดับใด
                ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 3.03 (12/396)
                ดี คิดเป็นร้อยละ 6.82 (27/396)
                ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 0.76 (3/396)
                ปรับปรุง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/396)
          (1.5) ด้านคุณภาพผู้สำเร็จการศึกษา ระบบทวิภาคีที่ได้งานทำหรือประกอบอาชีพอิสระ อยู่ในระดับใด
                ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 4.04 (16/396)
                ดี คิดเป็นร้อยละ 5.30 (21/396)
                ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 2.27 (9/396)
                ปรับปรุง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/396)
     (2) ด้านคุณภาพผู้สำเร็จการศึกษา
          (2.1) ด้านทักษะและความสามารถในการปฏิบัติงาน ผู้เรียนชั้นปีสุดท้ายที่มีคุณลักษณะตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิวิชาชีพ (VQ) อยู่ในระดับใด
                ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 2.27 (9/396)
                ดี คิดเป็นร้อยละ 7.83 (31/396)
                ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 1.26 (5/396)
                ปรับปรุง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/396)
          (2.2) ด้านทักษะและความสามารถในการปฏิบัติงาน ผู้เรียนผ่านการวัดและประเมินผลตามสภาพจริง อยู่ในระดับใด
                ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 4.29 (17/396)
                ดี คิดเป็นร้อยละ 6.06 (24/396)
                ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 1.26 (5/396)
                ปรับปรุง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/396)
          (2.3) ด้านความพึงพอใจของสถานประกอบการที่มีต่อคุณภาพของผู้สำเร็จการศึกษา อยู่ในระดับใด
                ดีมาก คิดเป็นร้อยละ 3.28 (13/396)
                ดี คิดเป็นร้อยละ 6.82 (27/396)
                ปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 1.52 (6/396)
                ปรับปรุง คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/396)
  2) ปัญหาและอุปสรรค
     ด้านครูผู้สอน
           ครูไม่เข้าใจการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี คิดเป็นร้อยละ 50.00 (11/22)
           ครูขาดขวัญและกำลังใจ การจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี คิดเป็นร้อยละ 54.55 (12/22)
           อื่น ๆ (ถ้ามี) ........................................ (ข้อความ)
     ด้านการบริหารจัดการ
           สถานศึกษามีการปรับเปลี่ยนผู้บริหารบ่อย ทำให้ขาดความต่อเนื่อง คิดเป็นร้อยละ 21.05 (8/38)
           ผู้เรียน และผู้ปกครองไม่เข้าใจการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี คิดเป็นร้อยละ 31.58 (12/38)
           สถานประกอบการมีข้อจำกัดในการรับผู้เรียนเข้ารับการฝึกวิชาชีพ คิดเป็นร้อยละ 52.63 (20/38)
           อื่นๆ (ถ้ามี)............................................... (ข้อความ)
           -> สถานศึกษามีเฉพาะระดับอนุบาล
           -> สถานศึกษายังไม่มีการดำเนินการด้านการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีอย่างเป็นระบบ
           -> งบประมาณไม่เพียงพอ
     ด้านผู้เรียน
           ผู้เรียนขาดทักษะ Sft Skill คิดเป็นร้อยละ 22.45 (11/49)
           ผู้เรียนไม่ปรับตัวเข้ากับสถานประกอบการ คิดเป็นร้อยละ 22.45 (11/49)
           ผู้เรียนเลือกฝึกวิชาชีพใกล้บ้าน ซึ่งไม่ตรงกับสาขาวิชาที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด คิดเป็นร้อยละ 30.61 (15/49)
           ค่าใช้จ่ายในการฝึกวิชาชีพ คิดเป็นร้อยละ 30.61 (15/49)
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
      อื่นๆ ระบุ
      -> สถานศึกษษมีเฉพาะระดับอนุบาล
      -> สถานการณ์โรคระบาดไวรัส 2019 ทำให้บางระยะไม่สามรถส่งผู้เรียนเข้าฝึกอาชีพในสถานประกอบการได้
      -> ไม่มีทวิภาคี
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  
  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการจัดการอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีสู่คุณภาพมาตรฐาน ผ่านศูนย์อาชีวศึกษาทวิภาคีเขตพื้นที่ของสถานศึกษาท่าน ที่คิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  
  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 1.77 (7/396)
      พึงพอใจมาก คิดเป็นร้อยละ 7.58 (30/396)
      พึงพอใจปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 3.28 (13/396)
      พึงพอใจน้อย คิดเป็นร้อยละ 0.51 (2/396)
      พึงพอใจน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/396)
3.2 การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ทุกช่วงวัย โดยการจัดการเรียนรู้ที่หลากหลาย และสร้างการเรียนรู้ตลอดชีวิต เพื่อการพัฒนาทักษะอาชีพ โดยการเพิ่มพูนทักษะ (Re-skill) พัฒนาทักษะ (Up skill) และการเรียนรู้ทักษะใหม่ (New skills)
  1) สภาพความก้าวหน้า
     ด้านหลักสูตร
           หลักสูตรเพื่อการพัฒนาอาชีพ Re-skill/Up-Skill/New skills คิดเป็นร้อยละ 36.46 (35/96)
               จำนวน.................หลักสูตร (ตัวเลข)
               จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนา .....................คน (ตัวเลข)
           หลักสูตรกลุ่มอาชีพเกษตรกรรม คิดเป็นร้อยละ 19.79 (19/96)
               จำนวน.................หลักสูตร (ตัวเลข)
               จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนา .....................คน (ตัวเลข)
           หลักสูตรกลุ่มอาชีพความคิดสร้างสรรค์ คิดเป็นร้อยละ 16.67 (16/96)
               จำนวน.................หลักสูตร (ตัวเลข)
               จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนา .....................คน (ตัวเลข)
           หลักสูตรกลุ่มอาชีพอุตสาหกรรม คิดเป็นร้อยละ 15.63 (15/96)
               จำนวน.................หลักสูตร (ตัวเลข)
               จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนา .....................คน (ตัวเลข)
           หลักสูตรกลุ่มอาชีพเฉพาะทาง คิดเป็นร้อยละ 14.58 (14/96)
               จำนวน.................หลักสูตร (ตัวเลข)
               จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนา .....................คน (ตัวเลข)
           อื่นๆ ระบุ
           -> ห้องเรียนอาชีพ,ห้องเรียนพัมธมิตร
           -> ชุมนุมชีวิตเป็นสุข สนุกกับเศรษฐกิจพอเพียง
           -> หลักสูตรสถานศึกษาบูรณาการในกลุ่มสาระ
           -> หลักสูตรการแปรรูปอาหาร
           -> หลักสูตรอาชีพสำหรับเด็กพิการของศูนย์การศึกษาพิเศษ เขตการศึกษา 4 จังหวัดตรัง พุทธศักราช 2563
           -> 0
           -> การงานอาชีพ
           -> พาณิชยกรรมและบริการ
           -> ศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดสมุทรปราการมีการจัดกิจกรรมสร้างการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อ การพัฒนาทักษะอาชีพภายใต้หลักสูตรอาชีพ
           -> หลักสูตรปฐมวัย
           -> หลักสูตรเชื่อมโยงการศึกษาขั้นพื้นฐานกับอาชีวศึกษาและอุดมศึกษา
           -> 0
           -> กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพ
           -> หลักสูตรกลุ่มอาชีพพาณิชยกรรม
           -> -
           -> ด้านพาณิชยกรรมและการบริการ จำนวน 2 หลักสูตร จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนา 30 คน , การถนอมอาหารและแปรรูปอาหาร จำนวน 2 หลักสูตร จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนา 48 คน
           -> กิจกรรมเสริมหลักสูตร กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ชุมนุม และการบูรณาการ
           -> 1.กลุ่มอาชีพพาณิชกรรมและบริการ 2. กลุ่มภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารด้านอาชีพ
               จำนวน.................หลักสูตร (ตัวเลข)
               จำนวนผู้เข้ารับการพัฒนา .....................คน (ตัวเลข)
     ด้านกระบวนการพัฒนา
           แบบอบรม/สัมมนา แบบรวมกลุ่ม มีวิทยากรบรรยาย คิดเป็นร้อยละ 44.95 (49/109)
           แบบสื่อออนไลน์ ผ่านระบบ Zm หรือแอพพลิเคชั่นต่างๆ คิดเป็นร้อยละ 29.36 (32/109)
           แบบเรียนรู้ด้วยตัวเอง คิดเป็นร้อยละ 31.19 (34/109)
           อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
           -> 1. นักเรียนตามหลักสูตรโครงการห้องเรียนอาชีพ 2. นักเรียนเรียงความหลักสูตรห้องเรียนพันธมิตร จากสถาบันปัญญาภิวัฒน์
           -> กิจกรรมในรูปแบบชุมนุมวิชาการ
           -> ฝึกปฏิบัติ
           -> เรียนในสถานประกอบการ
           -> ในด้านการพัฒนานักเรียนภายใต้หลักสูตรอาชีพของศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจำจังหวัดสมุทรปราการ ได้จัดแบบบูรณาการ เน้นย้ำไปที่ความสามารถที่แตกต่างของแต่ละบุคคล รวมไปถึงสภาพแวดล้อมแต่ละครอบครัว กระบวนการพัฒนามีทั้งรูปแบบการสอน 1 ต่อ 1 ในชั้นเรียน สอนเป็นกลุ่ม สอนแบบได้ลงปฎิบัติจริง และสุดท้ายคือการสอนแบบออนไลน์โดยผ่านผู้ปกครองในการเป็นผู้ช่วยและแนะนำในการฝึกปฎิบัติ
           -> ครูผู้สอนเปิดรายวิชาตามความถนัดของผู้เรียน
           -> จัดเป็นรายวิชาเพิ่มเติมและหลักสูตรวิชาชีพระยะสั้นโดยการทำ MOU กับวิทยาลัยการอาชีพนาทวี
           -> ยังไม่มีกระบวนการพัฒนาที่ชัดเจน
           -> ครูผู้สอนได้นำหลักสูตรมาจัดกิจกรรมให้เหมาะสมกับผู้เรียน เพื่อให้เกิดทักษะตามศักยภาพและผู้เรียนสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันและครอบครัวได้
           -> -
           -> สื่อการเรียนที่ครูผลิต
           -> ชุมนุม
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      ระยะเวลาในการพัฒนาไม่สัมพันธ์กับงบประมาณที่จัดสรร คิดเป็นร้อยละ 17.93 (26/145)
      นโยบายขาดความต่อเนื่อง คิดเป็นร้อยละ 14.48 (21/145)
      ขาดการมีส่วนร่วม คิดเป็นร้อยละ 8.97 (13/145)
      ขาดบุคลากรที่มีความชำนาญเฉพาะด้านในแต่ละหลักสูตร คิดเป็นร้อยละ 23.45 (34/145)
      วัสดุ อุปกรณ์ เครื่องมือในการพัฒนาไม่เพียงพอ และไม่ทันสมัย คิดเป็นร้อยละ 27.59 (40/145)
      รูปแบบการพัฒนายังยึดติดกับเนื้อหามากกว่าทักษะกระบวนการ คิดเป็นร้อยละ 12.41 (18/145)
      อื่นๆ ระบุ
      -> ปัญหาการแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา ทำให้ไม่สะดวกในการทำกิจกรรม
      -> นักเรียนบางคนไม่พร้อมทั้งทางด้านความพร้อมของครัวครัว และด้านเครื่องมือสื่อสาร
      -> ความพร้อมที่จะเรียนรู้ของนักเรียนแต่ละคนไม่เท่ากัน ในหลายๆด้าน เช่น ด้านอุปกรณ์ เครื่องมือต่างๆ ด้านสภาพความเป็นอยู่และด้านอื่นๆ
      -> กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่จำนวนลดลง เนื่องจากสภาพเศรษฐกิจในพื้นที่ท่องเที่ยว
      -> ติดระเบียบเรื่องการเบิกจ่าย
      -> ค่าตอบแทนวิทยากรน้อย
      -> สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) วิทยากรบางคนอยู่กลุ่มเสี่ยงสูงต้องกักตัว และบางพื้นที่เป็นหมู่บ้านเสี่ยงไม่สามารถดำเนินการจัดการจัดกิจกรรมได้
      -> ไมมี
      -> ครูผู้สอนต้องมีการพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับการนำเทคโนโลยีมาใช้
      -> -
      -> สถานการณ์โควิดทำให้การเรียนทักษะอาชีพไม่มีความสมบูรณ์
      -> ยัไม่ดำเนินการ
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  
  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่านที่คิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี)** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  
  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 5.05 (20/396)
      พึงพอใจมาก คิดเป็นร้อยละ 14.65 (58/396)
      พึงพอใจปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 7.07 (28/396)
      พึงพอใจน้อย คิดเป็นร้อยละ 0.51 (2/396)
      พึงพอใจน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/396)
4. ด้านเทคโนโลยีเพื่อการศึกษา
4.1 การนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วมและการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน
  1) สภาพความก้าวหน้า
     (1) การนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน
          (1.1) การนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษา
                สถานศึกษามีการจัดทำ/นำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษา ทุกระดับการศึกษา ระบุ
                ครูได้รับการพัฒนาการจัดทำสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยและนำมาปรับใช้ในการเรียนการสอน คิดเป็นร้อยละ 30.43 (161/529)
                สถานศึกษามีการส่งเสริม สนับสนุน โดยการจัดการเรียนการสอน/กิจกรรม เพื่อให้ผู้เรียนได้รับ การส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน คิดเป็นร้อยละ 31.76 (168/529)
     (2) รูปแบบการจัดการเรียนการสอนของสถานศึกษาภายใต้สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
           On-Site (การจัดการเรียนการสอนตามปกติ) คิดเป็นร้อยละ 27.04 (146/540)
           On Air (การเรียนการสอนผ่านทีวี/ผ่านระบบดาวเทียม/ระบบเคเบิลทีวี/ระบบ IPTV/ระบบ Zoom) คิดเป็นร้อยละ 11.30 (61/540)
           Online (การเรียนการสอนผ่านอินเตอร์เน็ต) คิดเป็นร้อยละ 25.74 (139/540)
           On Hand (การจัดการเรียนการสอนโดยนำหนังสือ แบบฝึกหัด ใบงาน ไปเรียนรู้ที่บ้านภายใต้ความช่วยเหลือของผู้ปกครอง) คิดเป็นร้อยละ 25.74 (139/540)
           On-Demand (การเรียนการสอนผ่านเว็บไซต์ DLTV ช่อง Youtube และแอพลิเคชัน DLTV บนสมาร์ทโฟนหรือแท็บเล็ต และอื่นๆ) คิดเป็นร้อยละ 16.67 (90/540)
           รูปแบบผสมผสาน ระบุ
  2) ปัญหาและอุปสรรค
      ครูขาดการพัฒนาในการจัดทำสื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัยและนำมาปรับใช้ในการเรียนการสอน คิดเป็นร้อยละ 17.43 (61/350)
      ครูไม่มีความชำนาญในการใช้สื่อเทคโนโลยีที่ทันสมัย คิดเป็นร้อยละ 24.57 (86/350)
      ผู้เรียนขาดแคลนอุปกรณ์และการเข้าถึงอินเทอร์เน็ต สำหรับการเรียนการสอน คิดเป็นร้อยละ 40.29 (141/350)
      ผู้เรียนขาดการมีส่วนร่วมในการเรียน คิดเป็นร้อยละ 26.29 (92/350)
      อื่นๆ (ถ้ามี) ระบุ
      -> ระบุอุปกรณ์ที่ใช้ในการเรียนด้านเทคโนโลยีของนักเรียนไม่รองรับกับโปรแกรมใหม่ๆ
      -> ผู้ปกครองมีฐานะยากจน ต้องทำงานไม่มีเวลาดูแลนักเรียนในช่วงระหว่างเรียนออนไลน์ ทำให้ผู้เรียนหลายคนขาดโอกาสในการเรียนรู้
      -> 3. นักเรียนมีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีพื้นฐานแตกต่างกัน
      -> ผู้ปกครองไม่มีเวลาในการดูแลบุตรหลานให้เรียนออนไลน์
      -> สถานการณ์โรคระบาดไวรัสโคโรนา 2019 ทำให้มีข้อจำกัดในการเรียนรู้
      -> ผู้ปกครองและผู้เรียนยังไม่มีความพร้อมในการใช้เทคโนโลยีร่วมกับครูผู้สอน ส่งผลให้การจัดการเรียนการสอนมีข้อจำกัดและมีความยากลำบาก
      -> ผู้ปกครองบางท่านต้องไปทำงานทำให้นักเรียนในระดับมัธยมบางคนขาดความเอาใจใส่ในการเรียนแบบ Online
      -> นักเรียนบางคนไม่มีอุปกรณ์ในการเรียน Online
      -> ครูมีความชำนาญด้านการใช้สื่อฯ ไม่เท่ากัน
      -> งบอุดหนุนรายหัวไม่สามารถจัดซื้อครุภัณฑ์ อาทิ อุปกรณ์เครื่องคอมพิวเตอร์ได้
      -> ด้านครูผู้สอน ครูบางส่วนใช้เทคโนโลยียังไม่คล่องและโรงเรียนได้จัดฝึกอบรม การใช้เทคโนโลยีนวัตกรรมในการจัดการศึกษา จนสามารถใช้งานเป็น ด้านผู้เรียน 1) นักเรียนบางคนไม่มีความพร้อมในด้านสัญญานอินเตอร์เน็ตและอุปกรณ์สื่อสาร Smart Phone 2) เรื่องการใช้เทคโนโลยี ช่วงแรกๆนักเรียนยังใช้เครื่องมือสื่อสารในการเรียนยังไม่คล่อง ซึ่งคุณครูที่ปรึกษาได้ดำเนินการในการช่วยเหลือจนสามารถใช้งานเป็น ด้านสื่อ วัสดุอุปกรณ์ 1) นักเรียนบางคนไม่มีความพร้อมในด้านเครื่องมือสื่อสาร Smart Phone เพื่อใช้ในกิจกรรมกระบวนการเรียนการสอน
      -> การเปลี่ยนแปลงการใช้สื่อเทคโนโลยีเป็นหลักในการจัดการเรียนการและการเรียนรู้ทำให้ครูและนักเรียนต้องปรับตัวในระยะเวลาอันรวดเร็ว ซึ่งถือว่าเป็นโอกาสในการพัฒนาตนเองและเป็นโอกาสในการเรียนรู้ของทุกคน ทั้งนี้ความแตกต่างระว่างบุคคล พื้นที่ยังเป็นอุปสรรคในการเรียนรู้ของนักเรียน และช่วงวัยของครูยังจะต้องทำให้ครูต้องเรียนรู้พัฒนาตนเองเพื่อให้การจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพสูงสุด...ต้องอาศัยเวลาในดำเนินการ
      -> การเข้าถึงซอฟแวร์ที่มีประสิทธิภาพ และข้อจำกัดต่าง ๆของซอฟแวร์ในด้านการตลาด
      -> ผู้เรียนบางส่วนอยู่ในพื้นที่ห่างไกลสัญญาณทำให้การเรียนรู้ช้ากว่าเพื่อนคนอื่น
      -> ไม่มี
      -> วัสดุอุปกรณ์มีราคาแพง ภาระงานของครูมีมากเกินไป
  3) สถานศึกษามีวิธีการแก้ไขปัญหาที่ระบุตามข้อ 2) อย่างไร
  
  4) นวัตกรรม/รูปแบบ/แนวทางการดำเนินงานเกี่ยวกับการนำนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใช้ในการจัดการศึกษาทุกระดับการศึกษาที่เน้นการมีส่วนร่วม และการส่งเสริมการฝึกทักษะดิจิทัลในชีวิตประจำวัน ของสถานศึกษาท่าน ที่ท่านคิดว่าเป็นต้นแบบหรือแบบอย่างที่ดี (Best Practice) (ถ้ามี) ** แนบไฟล์ภาพ หรือรายละเอียด
  
  5) ท่านมีความพึงพอใจในการดำเนินงานตามนโยบายอยู่ในระดับใด
      พึงพอใจมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 11.87 (47/396)
      พึงพอใจมาก คิดเป็นร้อยละ 34.09 (135/396)
      พึงพอใจปานกลาง คิดเป็นร้อยละ 7.58 (30/396)
      พึงพอใจน้อย คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/396)
      พึงพอใจน้อยที่สุด คิดเป็นร้อยละ 0.00 (0/396)