เลือกข้อมูลที่ต้องการ
สรุปรายงานข้อมูลภาพรวม ทั้งประเทศ รอบการตรวจที่
นโยบายที่ 2 นโยบายการสร้างความ สามารถในการแข่งขัน
2.4 การส่งเสริมอาชีพที่เหมาะสม สำหรับผู้ที่เข้าสู่สังคมสูงวัย
ตารางที่ 13 แสดงจำนวนและร้อยละของสถานศึกษาจัดทำหลักสูตรพัฒนาอาชีพสำหรับผู้ที่เข้าสู่สังคมสูงวัย
2.4 การส่งเสริมอาชีพที่เหมาะสม สำหรับผู้ที่เข้าสู่สังคมสูงวัย
ตารางที่ 13 แสดงจำนวนและร้อยละของสถานศึกษาจัดทำหลักสูตรพัฒนาอาชีพสำหรับผู้ที่เข้าสู่สังคมสูงวัย
คำชี้แจง
สังคมสูงวัย (Aged society) หมายถึง สังคมที่มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปมากกว่าร้อยละ 10
ของประชากร ทั้งประเทศ โดยที่ผู้สูงอายุ (Elderly Person) ตามความหมายของ พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ
พ.ศ. 2546 มาตรา 3 ได้บัญญัติว่า ผู้สูงอายุ หมายถึง บุคคลซึ่งมีอายุเกิน 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป และมีสัญชาติไทย
การส่งเสริมอาชีพสำหรับผู้ที่เข้าสู่สังคมสูงวัย ตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 มาตรา 11 ที่ว่าด้วยเรื่องสิทธิที่ผู้สูงอายุพึงได้รับ ซึ่งหนึ่งในนั้น คือการได้ประกอบอาชีพหรือฝึกอาชีพที่เหมาะสม และตามปฏิญญาผู้สูงอายุไทยข้อ 4 ที่มีใจความสำคัญว่า ผู้สูงอายุควรได้ถ่ายทอดความรู้ และประสบการณ์ให้สังคม
มีโอกาสได้ทำงานที่เหมาะสมกับวัยตามความสมัครใจ โดยได้รับค่าตอบแทนที่เป็นธรรม เพื่อให้เกิด
ความภาคภูมิใจ และมีชีวิตที่มีคุณค่า
หลักสูตรการพัฒนาอาชีพสำหรับผู้ที่เข้าสู่สังคมสูงวัย หมายถึง หลักสูตรที่ให้การอบรมประชาชน
ผู้ที่เข้าสู่สังคมสูงวัยในพื้นที่ ได้รับการอบรมหลักสูตรพัฒนาอาชีพที่เหมาะสม เพื่อให้สามารถนำความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาอาชีพที่เหมาะสมกับวัย ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ เกิดความภาคภูมิใจ และชีวิตมีคุณค่า
การส่งเสริมอาชีพสำหรับผู้ที่เข้าสู่สังคมสูงวัย พิจารณาจากร้อยละของสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงาน กศน. ที่มีหลักสูตรการพัฒนาอาชีพที่เหมาะสมสำหรับผู้ที่เข้าสู่สังคมสูงวัย เพื่อให้สามารถนำความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาอาชีพที่เหมาะสม ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ เกิดความภาคภูมิใจ และชีวิตมีคุณค่า
สังคมสูงวัย (Aged society) หมายถึง สังคมที่มีประชากรอายุ 60 ปีขึ้นไปมากกว่าร้อยละ 10
ของประชากร ทั้งประเทศ โดยที่ผู้สูงอายุ (Elderly Person) ตามความหมายของ พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ
พ.ศ. 2546 มาตรา 3 ได้บัญญัติว่า ผู้สูงอายุ หมายถึง บุคคลซึ่งมีอายุเกิน 60 ปีบริบูรณ์ขึ้นไป และมีสัญชาติไทย
การส่งเสริมอาชีพสำหรับผู้ที่เข้าสู่สังคมสูงวัย ตามพระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 มาตรา 11 ที่ว่าด้วยเรื่องสิทธิที่ผู้สูงอายุพึงได้รับ ซึ่งหนึ่งในนั้น คือการได้ประกอบอาชีพหรือฝึกอาชีพที่เหมาะสม และตามปฏิญญาผู้สูงอายุไทยข้อ 4 ที่มีใจความสำคัญว่า ผู้สูงอายุควรได้ถ่ายทอดความรู้ และประสบการณ์ให้สังคม
มีโอกาสได้ทำงานที่เหมาะสมกับวัยตามความสมัครใจ โดยได้รับค่าตอบแทนที่เป็นธรรม เพื่อให้เกิด
ความภาคภูมิใจ และมีชีวิตที่มีคุณค่า
หลักสูตรการพัฒนาอาชีพสำหรับผู้ที่เข้าสู่สังคมสูงวัย หมายถึง หลักสูตรที่ให้การอบรมประชาชน
ผู้ที่เข้าสู่สังคมสูงวัยในพื้นที่ ได้รับการอบรมหลักสูตรพัฒนาอาชีพที่เหมาะสม เพื่อให้สามารถนำความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาอาชีพที่เหมาะสมกับวัย ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ เกิดความภาคภูมิใจ และชีวิตมีคุณค่า
การส่งเสริมอาชีพสำหรับผู้ที่เข้าสู่สังคมสูงวัย พิจารณาจากร้อยละของสถานศึกษา ในสังกัดสำนักงาน กศน. ที่มีหลักสูตรการพัฒนาอาชีพที่เหมาะสมสำหรับผู้ที่เข้าสู่สังคมสูงวัย เพื่อให้สามารถนำความรู้เกี่ยวกับการพัฒนาอาชีพที่เหมาะสม ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวันได้ เกิดความภาคภูมิใจ และชีวิตมีคุณค่า
ปีการศึกษา 2563 ศธภ./ศธจ.
รอบการตรวจที่ 1 : เปิดให้บันทึกข้อมูล
รอบการตรวจที่ 2 : เปิดให้บันทึกข้อมูล
รอบการตรวจที่ 1 : เปิดให้บันทึกข้อมูล
รอบการตรวจที่ 2 : เปิดให้บันทึกข้อมูล